1.69k likes | 3.08k Views
เครื่องวัดไฟฟ้า. เสนอ. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. มาตรฐานรายวิชา. 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ. 2. ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ วัดค่าทางไฟฟ้า. จุดประสงค์ครั้งนี้.
E N D
เครื่องวัดไฟฟ้า เสนอ นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ 2. ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ วัดค่าทางไฟฟ้า
จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ • โครงสร้างมิเตอร์กระแสสลับ • หลักการทำงาน • การอ่านค่า และการบำรุงรักษา
- เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ - เครื่องวัดแบบเร็กติฟายเออร์ - เครื่องวัดแบบอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ - เครื่องวัดแบบแผ่นเหล็กเคลื่อนที่ - เครื่องวัดแบบเทอร์โมคัพเปิล - เครื่องวัดแบบไฟฟ้าสถิตย์
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ...เครื่องวัดไฟฟ้า.... ชื่อผู้แต่ง.....อ.เอนก นรสาร..... สำนักพิมพ์.....ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2548........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.รัชนัย อินทุไส..... สำนักพิมพ์.....ฟิสิกส์เซ็นเตอร์....... ปีที่พิมพ์....2546........ จังหวัด... นครปฐม...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2548........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.ชาญชัย แสนจันทร์..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ. วีรธรรม ไชยยงค์..... สำนักพิมพ์..... วังอักษร........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ. ประภา โลมะพิเศษย์..... สำนักพิมพ์..... เอมพันธ์ จำกัด........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง
การต่อและการใช้งาน แอมมิเตอร์กระแสตรง
การต่อและการใช้งาน แอมมิเตอร์กระแสตรง
การต่อและการใช้งาน แอมมิเตอร์กระแสตรง
เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
โวลท์มิเตอร์กระแสตรง เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่าความต่างศักย์ หรือวัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ระหว่างจุดสองจุดในส่วนใดส่วนหนึ่งของวงจรหรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
โวลท์มิเตอร์กระแสตรง ก็คือแอมมิเตอร์นั้นเอง เพราะ ขณะทำการวัด จะต้องมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทำให้ เกิดสนามแม่เหล็ก ดูดหรือผลักกัน ทำให้เข็มบ่ายเบน และจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณกระแสที่ไหลผ่านขดลวด
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ
e( t ) N t s รูปคลื่นแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำในทางปฏิบัติ
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ คือ เครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับวัดค่าแรงดันหรือกระแสไฟฟ้าสลับ โดยอาศัยเทคนิคหลาย ๆ แบบ เพื่อให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านมูฟวิ่งคอยล์ เพื่อให้แสดงผลออกมาเป็นค่าตัวเลข หรือ ค่าตามสเกลหน้าปัทม์เครื่องมือวัดไฟฟ้าของกระแสสลับมีหลายชนิด
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 1. เครื่องวัดแบบเร็กติฟายร์เออร์ (Rectifier Instrument) 2. เครื่องวัดแบบอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์(Electrodynamometer Instrument)
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3. เครื่องวัดแบบแผ่นเหล็กเคลื่อนที่ (Iron – Vane movement Instrument) 4. เครื่องวัดแบบเทอร์โมคัพเปิล (Thermocouple Instrument)
เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 5. เครื่องวัดแบบไฟฟ้าสถิตย์ (Electrostatic Instrument)
เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์ ใช้หลักการของเครื่องวัดแบบ PMMC ทำงานร่วมกับวงจรเร็คติฟายร์ โดยหน้าที่ของ วงจรเร็คติฟายร์ Permanent Magnet Moving Coil
เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์ คือวงจรที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง แล้วทำการวัด
เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์ ข้อดีคือ เครื่องวัด PMMC จะมีความไวในการวัดสูงและสิ้นเปลื่องกำลังงานน้อย ข้อเสียคือ ไม่สามารถใช้วัดไฟฟ้ากระแสสลับที่มีความถี่สูงได้
เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์ เครื่องวัดแบบเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น
เครื่องวัดแบบเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่นเครื่องวัดแบบเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น RS = ความต้านทานต่ออนุกรม D1= ไดโอดเรียงกระแส Rm = ความต้านทานขดลวดเคลื่อนที่
สมการคำนวณหาค่าต่างๆของแรงดันไฟฟ้าสมการคำนวณหาค่าต่างๆของแรงดันไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์เครื่องวัดแบบเร็คติฟายเออร์ Erms = ค่าแรงดันไฟฟ้าที่ใช้งาน (Effective Voltage) Ep = ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด (Peak Voltage) Eave = ค่าแรงดันไฟฟ้าเฉลี่ย (Average Voltage)
ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด = 1.414 × 10Vp Ep = 14.14 V
ค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ Erms = 7.071 V ถ้าค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด 1 VErms = 0.707 V
ค่าแรงดันไฟฟ้าเฉลี่ยEave = 0.636 × Ep= 0.636×14.14 Vp = 8.99 V ในกรณีที่เรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น8.99/2 = 4.5 V
ปกติค่ากระแสหรือแรงดันของการวัดไฟสลับจะเป็นค่า rms คือ (0.707 x ค่าพีค) sine 1.11 เท่าของค่าเฉลี่ย ซึ่งค่าเฉลี่ยค่าพีคและค่า rms มีความสัมพันธ์กันโดยตรงดังนั้นเราสามารถปรับแต่สเกลให้เป็นค่าแรงดัน rms (Vrms) ได้