721 likes | 1.76k Views
Update in Forensic Pathology. ศ.ดร.นพ. พงษ์ รักษ์ ศรีบัณฑิต มงคล ภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 8 กุมภาพันธ์ 2557. หัว ข้อการบรรยาย. Refresh & Update กฎหมายการ ชันสูตรพลิกศพ
E N D
Update in Forensic Pathology ศ.ดร.นพ. พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล ภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 8 กุมภาพันธ์ 2557
หัวข้อการบรรยาย Refresh & Update • กฎหมายการชันสูตรพลิกศพ • บทบาทของแพทย์ละบุคลากรสาธารณสุขในการชันสูตรพลิกศพ และงานด้านนิติเวช
พบผู้ตายนอนเสียชีวิตที่ห้องทำงานในบ้านตนเองพบผู้ตายนอนเสียชีวิตที่ห้องทำงานในบ้านตนเอง • เราอยากรู้อะไร? • เขาตายจากอะไร • ใครทำให้เขาตาย คนอื่น หรือ ตัวเขา
ป.วิอาญา มาตรา 129 “ให้ทำการสอบสวนรวมทั้งการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่ความตายเป็นผลแห่งการกระทำผิดอาญาดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี้ อันว่าด้วยการชันสูตรพลิกศพ ถ้าการชันสูตรพลิกศพยังไม่เสร็จ ห้ามมิให้ฟ้องผู้ต้องหายังศาล”
ป.วิอาญา มาตรา 148 ทำการชันสูตรพลิกศพในกรณี 1. การตายโดยผิดธรรมชาติ หรือสงสัย 1.1 ฆ่าตัวตาย 1.2 ถูกผู้อื่นทำให้ตาย 1.3 ถูกสัตว์ทำร้ายตาย 1.4 ตายโดยอุบัติเหตุ 1.5 ตายโดยยังมิปรากฎเหตุ
2. การตายในระหว่างการควบคุมของเจ้าพนักงาน เช่น เจ้าพนักงานตำรวจ, เจ้าพนักงานควบคุมเรือนจำ กรณีเช่นนี้ ต้องทำการชันสูตรพลิกศพไม่ว่า จะตายโดยผิดธรรมชาติหรือตายด้วยโรคธรรมชาติก็ตาม
ป. วิอาญา มาตรา 150 ผู้มีหน้าที่ในการชันสูตรพลิกศพ 1. พนักงานสอบสวน ในท้องที่ที่พบศพ 2.ฝ่ายแพทย์ ได้แก่ • แพทย์ทางนิติเวชศาสตร์ หรือ • แพทย์ประจำโรงพยาบาลของรัฐ หรือ • แพทย์ประจำสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • แพทย์ประจำโรงพยาบาลของเอกชนหรือแพทย์ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ขึ้นทะเบียนเป็นแพทย์อาสาสมัครตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข
กรณีที่มีความตายเกิดขึ้นกรณีที่มีความตายเกิดขึ้น • โดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ • หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ จะมีบุคคลที่ร่วมชันสูตรเพิ่มขึ้นคือ 3.พนักงานอัยการแห่งท้องที่ที่ศพนั้น 4.พนักงานฝ่ายปกครองตำแหน่งตั้งแต่ระดับปลัดอำเภอหรือเทียบเท่าขึ้นไปแห่งท้องที่ที่ศพนั้น
บทเฉพาะกาลมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 แพทย์อาจมอบหมายให้ • เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลหรือ • เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ไปร่วมชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุแทนแพทย์ได้ในกรณี • ถูกสัตว์ทำร้ายตาย • ตายโดยอุบัติเหตุ • ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ ที่ผ่านการอบรมทางนิติเวชศาสตร์
ป.วิอาญา มาตรา 154 วัตถุประสงค์การชันสูตรพลิกศพ เพื่อให้ทราบว่า 1. ผู้ตายคือใคร (Identification) 2. ผู้ตาย ตายที่ไหน (Sceneofdeath) 3. ผู้ตาย ตายเมื่อใด (Timingofdeath) 4. เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย (Causeandmannerofdeath) 5. กรณีที่ตายโดยผู้อื่นกระทำ ให้ระบุว่า ใครหรือสงสัยว่าใครเป็นผู้กระทำผิด “เท่าที่จะทราบได้ ”
ผู้ตายคือใคร (Identification) • สภาพศพปกติ • ดูจากภายนอก • เปรียบเทียบกับ ID card • ลักษณะเฉพาะตัวต่างๆ เช่น รอยสัก • ลักษณะฟัน • ลายพิมพ์นิ้วมือ
ผู้ตายคือใคร (Identification) • สภาพศพเปลี่ยนสภาพ • ลักษณะฟัน* • เปรียบเทียบกับตนเอง • ลายพิมพ์นิ้วมือ* • เปรียบเทียบกับตนเอง • DNA* • Direct match • Indirect match *Scientific evidences
DNA • Specimens • Biological; blood, bone, hair root, muscle • Non-biological; แปรงสีฟัน, • พิสูจน์บุคคล • หาผู้กระทำผิด • DNA จาก sperm • Touch DNA
ผู้ตาย ตายที่ไหน (Sceneofdeath) • ตายที่ที่พบศพ หรือ จากที่อื่น
การตรวจที่เกิดเหตุ (ที่พบศพ) มีความจำเป็น
ตายในที่ที่พบศพ กระเป๋า??
ผู้ตาย ตายเมื่อใด (Timingofdeath) ตรวจการเปลี่ยนแปลงหลังตาย • การหดเกร็งของกล้ามเนื้อเมื่อถูกกระตุ้น (Supravital muscle contraction) • หัวใจหยุดเต้นแต่เซลล์ในร่างกายยังไม่ตายทันที
ผู้ตาย ตายเมื่อใด (Timingofdeath) ตรวจการเปลี่ยนแปลงหลังตาย • การหดเกร็งของกล้ามเนื้อเมื่อถูกกระตุ้น (Supravital muscle contraction) • Livor Mortis; การตกของเลือดลงสู่ส่วนต่ำของร่างกาย
ผู้ตาย ตายเมื่อใด (Timingofdeath) ตรวจการเปลี่ยนแปลงหลังตาย • การหดเกร็งของกล้ามเนื้อเมื่อถูกกระตุ้น (Supravital muscle contraction) • Livor Mortis; การตกของเลือดลงสู่ส่วนต่ำของร่างกาย • Rigor Mortis; การแข็งตัวของศพ
ตายจากบาดแผล บาดแผลกระสุนปืนและวัตถุระเบิด บาดแผลจากวัตถุมีคม (แทง, ฟัน) บาดแผลจากวัตถุไม่มีคม ตายจากการขาดอากาศ ตายจากได้รับสารพิษ หรือยาเกินขนาด ตายจากการจมน้ำ ตายจากไฟฟ้าดูด ช็อต ตายจากโรค เหตุที่ตาย (Causeofdeath)
บาดแผลกระสุนปืนและวัตถุระเบิดบาดแผลกระสุนปืนและวัตถุระเบิด บาดแผลจากกระสุนลูกโดด แผลทางเข้าโดยทั่วไป • รูทะลุ กลม หรือ รี หรือ แฉก (punch out lesion) • รอยถลอกรอบๆ แผล (marginal abrasion) • รอยดำเกิดจากความร้อนที่มากับหัวกระสุน(grease ring) Grease ring ปรากฎ ที่เสื้อผ้าได้
การยิงในระยะที่เขม่าดินปืนปลิวไปถึง: ระยะใกล้ พบลักษณะที่ partial burn or unburnedgunpowder ปลิวไปฝังอยู่ใต้ผิวหนังปรากฏเป็นจุดแดงๆ หรือ ดำๆ รอบแผล เนื่องจากติดอยู่ใต้ผิวหนังเหมือนรอยสักจึงเรียกว่า tattooing หรือ เหมือนลักษณะที่โรยพริกไท จึงเรียกว่า peppering นิติเวช มช.
การยิงในระยะที่ควัน เปลวไฟ เขม่ายังเกาะกลุ่มไม่แยกออกจากกัน นิติเวช มช.
และสามารถตรวจพบเขม่าดินปืนดำๆและสามารถตรวจพบเขม่าดินปืนดำๆ อยู่ใต้แผล เป็น โพรงดินปืน การยิงในระยะประชิด contact range นิติเวช มช.
บางส่วนของเม็ดลูกปรายเริ่มจะแยกจากกลุ่ม บางเม็ดยังรวมกันทำให้ แผลตรงกลางมีขนาดใหญ่ บาดแผลทางเข้ากระสุนปืนลูกปราย:ระยะค่อนข้างไกล นิติเวช มช.
บาดแผลจากวัตถุมีคม • บาดแผลถูกแทง (stab wound)
บาดแผลจากวัตถุไม่มีคมบาดแผลจากวัตถุไม่มีคม • บาดแผลถลอก • บาดแผลฟกช้ำ • บาดแผลฉีกขาดขอบไม่เรียบ
ตายจากบาดแผล บาดแผลกระสุนปืนและวัตถุระเบิด บาดแผลจากวัตถุมีคม (แทง, ฟัน) บาดแผลจากวัตถุไม่มีคม เหตุที่ตาย (Causeofdeath) อวัยวะสำคัญเช่น สมอง หัวใจ ถูกทำลาย เสียเลือดมาก ภาวะแทรกซ้อน
ตายจากการขาดอากาศ ตายจากได้รับสารพิษ หรือยาเกินขนาด ตายจากการจมน้ำ ตายจากไฟฟ้าดูด ช็อต ตายจากโรค เหตุที่ตาย (Causeofdeath)
ตายจากการขาดอากาศ • แขวนคอ รัดคอ • บีบคอ • ปิดปากจมูก
ตายจากการจมน้ำ Fine froth Washer woman’s skin
ตายจากไฟฟ้าดูด ช็อต • Electrical mark
ตายจากได้รับสารพิษ หรือยาเกินขนาด
ตายจากโรค • หากยังไม่ทราบเหตุในเบื้องต้น จะถูกจัดเป็น การตายโดยยังมิปรากฏเหตุ • เมื่อตรวจชันสูตร จึงพบเหตุตายที่เกิดจากการเจ็บป่วย โรคต่างๆ
สรุปบทบาทที่อาจเกี่ยวข้องสรุปบทบาทที่อาจเกี่ยวข้อง
การตายโดยยังมิปรากฏเหตุการตายโดยยังมิปรากฏเหตุ • พบนอนเสียชีวิตที่พักอาศัย • เหตุตาย • สารพิษ (ทำตนเอง ผู้อื่นทำ อุบัติเหตุ) • ขาดอากาศ (ปิดปาก ปิดจมูก บีบรัดลำคอ?) • ทำร้ายร่างกาย • โรค เจ็บป่วย • แมลงสัตว์กัดต่อย (สัตว์พิษ)
Scenario ที่ไม่สามารถผ่าศพตรวจได้ ไม่ปรากฏบาดแผลภายนอกร่างกาย • ถูกทำร้ายด้วยวัตถุแข็งไม่มีคมไหม จนทำให้เสียเลือดมากในช่องอก หรือ ช่องท้อง • กด บีบรัดบริเวณ ปาก คอ จมูก ไหม • ร่องรอยแผลเกิดจาก สัตว์ แมลง กัด ไหม • ร่องรอยการได้รับสารพิษไหม • ประวัติการเจ็บป่วยไหม
การตรวจพิสูจน์กรณีที่เกี่ยวกับสารพิษการตรวจพิสูจน์กรณีที่เกี่ยวกับสารพิษ • สถานที่ เช่น พบขวดสารพิษ คราบอาเจียน • ประวัติ เช่น มีผู้พบเห็นว่ากินสารพิษ เวลาสุดท้ายที่มีอาการปกติ เวลาที่พบผู้ตาย ชนิดและจำนวนสารพิษ ที่ได้รับ อาการและอาการแสดง ก่อนเสียชีวิต • ศพ
การตรวจพิสูจน์จากศพ กรณีได้รับสารพิษ การตรวจศพจากภายนอก กลิ่น เช่น methomylที่ถูกกรด, น้ำมัน
รอยเข็มฉีดสารพิษเข้าสู่ร่างกายรอยเข็มฉีดสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการได้รับสารพิษตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการได้รับสารพิษ
MA • การตรวจสารเสพติด • ปัสสาวะ • เลือด • เส้นผม Chromatogram of hair analysis for Methamphetamine AP
ระดับความเข้มข้นของ MA ในเส้นผมกลุ่มตัวอย่าง • SoHT 0.2 ng/mg of hair = positive
ระดับความเข้มข้นของ MA ในเส้นผมกลุ่มตัวอย่าง
บทบาทของแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขต่องานนิติเวชศาสตร์ • ป.วิอาญา 150 แพทย์ประจำ รพ. ของรัฐ • บทเฉพาะกาล (จนถึง ปี พ.ศ. 2560) • งานวิจัยร่วมพยาธิวิทยากับ นิติแพทย์ • อาสาสมัครปฏิบัติงานกรณีมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก
ฃฃฃฃฃฃฃฃฃ ขอบคุณครับ ภาพถ่ายรางวัลชนะเลิศ “มช. ร่มแดนช้าง” โดย นายยุทธชัย อุตตมะ