1 / 16

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ( กระบวนการถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่ท้องถิ่น)

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ๒ กุมภาพันธ์ ๕๕. การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ( กระบวนการถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่ท้องถิ่น). พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒. การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ

yori
Download Presentation

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ( กระบวนการถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่ท้องถิ่น)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ๒ กุมภาพันธ์ ๕๕ การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ(กระบวนการถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่ท้องถิ่น)

  2. พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ •••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••• มาตรา ๑๖ ให้เทศบาล เมืองพัทยา และ อบต. มีอำนาจและหน้าที่ ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชน ในท้องถิ่นของตนเองดังนี้(๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล

  3. ขั้นตอนที่ ๑ อปท. ยื่นคำขอรับการประเมิน ๑.๓ การเตรียมการเพื่อรองรับการถ่ายโอน • ด้านการบริหารจัดการ • ด้านงบประมาณการเงิน • ด้านบุคลากร • ด้านทรัพย์สิน

  4. ด้านบุคลากร ๑ วิเคราะห์ปริมาณงาน/โครงสร้างส่วนราชการเพื่อรองรับการถ่ายโอน ตำแหน่งและอัตรากำลังให้สอดคล้องกับภารกิจ ความก้าวหน้าของบุคลากรสายงานสาธารณสุขในอนาคต ความเหมาะสมกับฐานการคลังของ อปท. ๒ การกำหนดโครงสร้างกอง/ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ๓ ดำเนินการขออนุมัติจัดตั้งส่วนราชการและหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคล ตามมติ ก.อบต. /ก.ท. ๔ อปท. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการในการขอรับงบประมาณหรือการเบิกจ่ายเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ต่างๆ ของบุคลากรที่ถ่ายโอนจากเงินอุดหนุน

  5. ด้านทรัพย์สิน อปท. ประสานกับ สสจ./สสอ. และ รพ.สต. สำรวจบัญชีทรัพย์สิน พัสดุ ครุภัณฑ์ และสภาพการใช้งาน โดยจัดทำบัญชี เพื่อทำการส่งมอบ และดำเนินการตามระเบียบพัสดุของแต่ละหน่วยงาน

  6. กระทรวงสาธารณสุขแจ้งผลการอนุมัติกระทรวงสาธารณสุขแจ้งผลการอนุมัติ กระทรวงสาธารณสุข แจ้งผลการพิจารณา มอบอำนาจ น.พ.สสจ. ดำเนินการถ่ายโอน

  7. ดำเนินการถ่ายโอน ด้านทรัพย์สิน/ภารกิจ สสจ. ให้ สสอ./รพ.สต. สำรวจและทำบัญชีทรัพย์สิน สสจ. ส่งมอบ ที่ดินราชพัสดุ/สิ่งก่อสร้าง คืนกรมธนารักษ์ สสจ. ประสาน อปท. ขอใช้ประโยชน์ที่ดินราชพัสดุ ด้านบุคลากร สสจ. ทำบัญชีบุคลากรขออนุมัติกระทรวงสาธารณสุข อปท. กำหนดกรอบอัตรารองรับบุคลากร

  8. ดำเนินการถ่ายโอน การส่งมอบ สสจ.แจ้ง อปท. กำหนดวันมอบ น.พ.สสจ. ลงนามมอบ / นายก อปท. ลงนามรับมอบ

  9. การดำเนินการหลังรับการถ่ายโอนการดำเนินการหลังรับการถ่ายโอน ๑. อปท. รายงานผลการรับโอน รพ.สต. ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบภายใน ๑๕ วัน ๒. ปีแรก อปท. สรุปผลการดำเนินงาน หลังการถ่ายโอน ทุก ๒ เดือน โดยเชิญสสจ. /สสอ. หรือผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมประชุมเพื่อประเมินผลสำเร็จ / ปัญหาอุปสรรค / คำแนะนำการแก้ไขปัญหา ๓. อปท. ให้ความร่วมมือคณะทำงานติดตามประเมินผลฯ และนำข้อสังเกต/คำแนะนำไปปรับปรุงการบริหารและ การให้บริการแก่ประชาชนให้ดียิ่งขึ้น

  10. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  11. ๑.สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่เป็นตัวเงิน๑.สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่เป็นตัวเงิน ๑. เงินเดือน ๒. เงินประจำตำแหน่ง ๓. เงินเพิ่มต่างๆ(ค่าครองชีพ,อื่นๆ) ๔. เงินค่าตอบแทนพื้นที่พิเศษ(ทุรกันดาร) ๕.ผู้บริหารที่จะเกษียณอายุราชการและดำรงปัจจุบันไม่น้อยกว่า ๗ ปี ได้เลื่อนระดับเป็นกรณีพิเศษสูงขึ้นอีก ๑ ขั้น* ๖.ประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ (โบนัส)* ๗. เงินประจำตำแหน่ง(วิชาชีพเฉพาะ)

  12. ๑. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่เป็นตัวเงิน ๘. ค่าตอบแทนปฎิบัติงานนอกเวลาราชการ ๙. เงินรางวัลการปฏิบัติงานในหน่วยปฐมภูมิ ๑๐. เงินเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย ๑๑. เงินค่าตอบแทนพิเศษรายเดือนสำหรับผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ๓ จว.ภาคใต้ ๑๒. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านสธ. ๑๓. เงินสวัสดิการสำหรับการปฏิบัติงานประจำสำนักงานในพื้นที่ พิเศษ (พ.ร.ฎ.เงินสวัสดิการฯ พ.ศ. ๒๕๔๔) ๑๔. เงินค่าตอบแทนรายเดือน (ระดับ ๘ ขึ้นไป)

  13. ๒. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่ไม่เป็นตัวเงิน ๑. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ๒.เงินทุนสนับสนุนการศึกษาแก่บุตรของข้าราชการและลูกจ้างประจำ ๓. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ๔.เงินค่าทำขวัญกรณีได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บจากการปฏิบัติหน้าที่ ๕. ค่าเช่าบ้าน ๖.เงินเกี่ยวกับศพซึ่งถึงแก่ความตายในระหว่างเดินทางไปราชการ  ๗. เงินช่วยเหลือบุคลากรที่ต้องคดีอาญา  ๘.เงินสงเคราะห์ผู้ที่ได้รับอันตรายหรือป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ ๙. บำเหน็จบำนาญ (กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.) ๑๐. กองทุน กบข. ๑๑. บำเหน็จดำรงชีพ

  14. ๒. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่ไม่เป็นตัวเงิน ๑๓.บำเหน็จความชอบค่าตอบแทนและการช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และประชาชนผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือช่วยราชการเนื่องในการป้องกันอธิปไตยและรักษาความสงบเรียบร้อยของประเทศ ๑๔.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในและนอกราชอาณาจักร(ชั่วคราว)ได้แก่ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พักและค่าพาหนะเดินทาง ๑๕. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๑๖.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในและนอกราชอาณาจักร ๑๗.ค่าใช้จ่ายสำหรับเดินทางกลับภูมิลำเนา ๑๘. เงินช่วยพิเศษกรณีถึงแก่ความตาย ๑๙. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมทั้งในและต่างประเทศ

  15. ๓. สวัสดิการ ๑. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒. การขอพระราชทานเพลิงศพ ๓.การลาศึกษาต่อ ๔.การนับอายุราชการและอายุราชการ ๕. สหกรณ์ออมทรัพย์ ๖. สมาคมฌาปนกิจศพสงเคราะห์ ๗. การตรวจสุขภาพประจำปี ๘. สิทธิการลา

  16. สิทธิประโยชน์ของข้าราชการสิทธิประโยชน์ของข้าราชการ ข้าราชการที่ถ่ายโอนไปปฏิบัติงานในท้องถิ่น จะได้รับสิทธิประโยชน์ไม่ต่ำกว่าที่เคยได้รับอยู่เดิม

More Related