1 / 40

ขั้นตอนที่ 1 การนัดหมายลงพื้นที่

ขั้นตอนที่ 1 การนัดหมายลงพื้นที่. ขั้นตอนที่ 2 การหารือกับ ผวจ. ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมการประชุมคณะอนุกรรมการสถิติระดับพื้นที่ (กลุ่มจังหวัด / จังหวัด). ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการประชุมคณะกรรมการ สถิติ. ส่งก่อน ลง พื้นที่ อย่าง น้อย 3 วัน. ขั้นตอนที่ 5 เก็บรายละเอียดงาน.

york
Download Presentation

ขั้นตอนที่ 1 การนัดหมายลงพื้นที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขั้นตอนที่ 1 การนัดหมายลงพื้นที่ ขั้นตอนที่ 2 การหารือกับ ผวจ. ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมการประชุมคณะอนุกรรมการสถิติระดับพื้นที่ (กลุ่มจังหวัด/จังหวัด) ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการประชุมคณะกรรมการสถิติ ส่งก่อนลงพื้นที่ อย่างน้อย 3 วัน ขั้นตอนที่ 5 เก็บรายละเอียดงาน ขั้นตอนที่ 6 จัดทำรายงานแผนพัฒนาสถิติ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ........... เพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด

  2. คู่มือการปรับห่วงโซ่มูลค่าทั่วไป (Generic Value Chain: GVC) ไปสู่ห่วงโซ่มูลค่าตามประเด็นยุทธศาสตร์ (Value Chain: VC)

  3. ขั้นตอนที่ 1 : การทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จะต้องจับประเด็นสำคัญ หรือ Key Message ให้ได้ว่าประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัดอันนี้ พูดถึงเรื่องอะไรบ้าง การปรับ GVC  VC ประเด็นยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ หมายเหตุ : ขั้นตอน 1-2 ควรทำไปพร้อมๆกัน หรือทบทวนกลับไปกลับมา ขั้นตอน 3 ยึดแนวทางการเลือกจากข้อมูลศักยภาพจังหวัดตามแผนพัฒนา และ PC ที่จังหวัดสรุปส่ง ก.มหาดไทย ขั้นตอน 4ทีมจังหวัดเลือก ทำเป็นร่าง เสนอให้สถิติพิจารณาเห็นชอบ และส่งต่อให้สถิติ ทำ Data list ขั้นตอน 5 ทำตาราง excel • ขั้นตอนที่ 2 : • การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพจังหวัดในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนด PC/CI เพื่อเป็นขอบการศึกษาและจัดทำ VC ยุทธศาสตร์ ได้ชัดเจนขึ้น • การคำนวณ วิเคราะห์หา PC จากข้อมูล GPP เกษตร ล่าสัตว์ ป่าไม้ ประมง เพื่อจัดทำ BCG • ขั้นตอนที่ 3 : • สรุป PC ของประเด็นยุทธศาสตร์ และเลือกรูปแบบห่วงโซ่มูลค่าทั่วไป การปรับรายการข้อมูลภายใต้ห่วงโซ่ ที่แสดงกิจกรรมย่อย เพื่อให้เชื่อมโยงไปสู่รายการข้อมูล ขั้นตอนที่ 4 : การวิเคราะห์เลือก CSF กำหนด KPI นำไปสู่การกำหนดรายการข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 5 : การจัดทำแผนผังรายการสถิติทางการ

  4. ขั้นตอนที่ 1 : การทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จะต้องจับประเด็นสำคัญ หรือ Key Message ให้ได้ว่าประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัดอันนี้ พูดถึงเรื่องอะไรบ้าง ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี วิสัยทัศน์ :“สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐานสู่สากล เป็นศูนย์กลางการศึกษาการกีฬาและการท่องเที่ยวโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ยึดการมีส่วนร่วม” จ.สุพรรณบุรี มี 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด โดยประเด็นยุทธศาสตร์สุดท้ายเป็นเรื่องการบริหารจัดการ ในโครงการนี้เราจะไม่พิจารณาเพื่อจัดทำ VC ด้านการบริหารจัดการภาครัฐ (ไม่ได้อยู่ในขอบเขตของการศึกษา) ข้อสังเกตว่าเป็นเรื่องการบริหารจัดการหรือไม่นั้น คือ มักจะมีคำว่า “บริหาร”เช่น การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี การเปลี่ยนแปลงด้านการบริหาร การบริหารสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารบริการประชาชน เป็นต้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตร เชื่อมโยง สู่เกษตรอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การยกระดับคุณภาพชีวิต และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมการศึกษา การกีฬามุ่งความเป็นเลิศในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 5 การนำการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารและบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ในประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 – 4 เมื่อพิจารณาแล้วจะพบ Key Word สำคัญของแต่ละประเด็นว่าเป็นการพัฒนาศักยภาพด้านใด จากตัวอย่าง ประเด็นที่ 1 : เกษตร เกษตรอุตสาหกรรม ประเด็นที่ 2 : ท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ประเด็นที่ 3 : คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ประเด็นที่ 4 : การศึกษา การกีฬา  จาก Key word สำคัญในแต่ละประเด็น จะต้องศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพจังหวัดในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนด PC/CI เพื่อเป็นขอบการศึกษาและจัดทำ VC ยุทธศาสตร์ ได้ชัดเจนขึ้น

  5. ขั้นตอนที่ 2 : การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพจังหวัดในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนด PC/CI เพื่อเป็นขอบการศึกษาและจัดทำ VC ยุทธศาสตร์ ได้ชัดเจนขึ้น ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี : จัดทำ 4 - 5Value Chain ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตร เชื่อมโยง สู่เกษตรอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การยกระดับคุณภาพชีวิต และความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมการศึกษา การกีฬามุ่งความเป็นเลิศในระดับสากล • ภาพรวม ศก. ของจังหวัด GPP • ศักยภาพด้านเกษตร • ศักยภาพด้านอุตสาหกรรม • คำนวณ BCG เพื่อกำหนด PC • วิเคราะห์เปรียบเทียบศักยภาพการผลิตด้านเกษตร กับจังหวัดในกลุ่ม หรือจังหวัดคู่แข่งที่ผลิตสินค้าแบบเดียวกัน เนื่องจาก จังหวัด เน้นส่งออกด้วย • ภาพรวม สภาพแวดล้อมของจังหวัด • ศักยภาพด้านท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวหลักของจังหวัด • สถานการณ์ทรัพยากรธรรม สิ่งแวดล้อมของจังหวัด • ประเด็นปัญหา ความต้องการของชุมชนในด้านการท่องเที่ยว และการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม • ภาพรวม ด้านสังคม : สาธารณสุข ประชากร แรงงาน ปัญหาอาชญากรรม ค.ยากจน การกระจายรายได้และอื่นๆ • ประเด็นปัญหา ความต้องการของชุมชนในด้านสังคม และความปลอดภัย • ศักยภาพด้านสังคมเน้นเฉพาะการศึกษา และด้านกีฬา • มีจุดเด่นสำคัญด้านการศึกษา การกีฬาอย่างไร ข้อมูลศักยภาพที่ต้องศึกษา ปรับ GVC ด้านสังคม แยกเป็นด้านการศึกษา และการกีฬา อย่างเดียว Critical Issue สังคม อาจไม่ระบุเจาะจงแต่ทำเป็น Hybrid VC Product Champion • รูปแบบการท่องเที่ยว • Critical Issue ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม** • อาจแยกเป็น 2 VC ท่องเที่ยว กับ VC ทรัพย์-สิ่งแวดล้อม Output

  6. ขั้นตอนที่ 2 (ต่อ): การเลือก PC/CI เพื่อเป็นขอบการศึกษาและจัดทำ VC ยุทธศาสตร์ ได้ชัดเจนขึ้น เกณฑ์ที่พิจาณาจะมีปัจจัย 3 ด้าน สรุป Product Champion / Critical Issue ที่เลือก และจัดทำ Slide ข้อมูล Back Up เพื่อสนับสนุน

  7. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับกลุ่มจังหวัด (1/3)

  8. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับกลุ่มจังหวัด (2/3)

  9. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับกลุ่มจังหวัด (3/3)

  10. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (1/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  11. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (2/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  12. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (3/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  13. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (4/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  14. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (5/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  15. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (6/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  16. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (7/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  17. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (8/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  18. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (9/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  19. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (10/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  20. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (11/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  21. สรุป PC / CI ตามข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด (12/12) หมายเหตุ : (A#1) (A#2) (A#3) หมายถึง ลา ดับความสา คัญในมิติของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  22. ขั้นตอนที่ 2 (ต่อ) : การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพจังหวัดที่สนับสนุนการระบุ PC/CI ยุทธศาสตร์แต่ละประเด็น ต้องมีการสรุปข้อมูลสนับสนุน และนำเสนอสั้นๆ **อาจทำไว้หลาย slide เพื่อ support แต่ไม่ต้อง Present ทั้งหมด ให้เก็บไว้เป็นส่วน Back up ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตร เชื่อมโยง สู่เกษตรอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก • ภาพรวม ศก. ของจังหวัด GPP • ศักยภาพด้านเกษตร • ศักยภาพด้านอุตสาหกรรม • คำนวณ BCG เพื่อกำหนด PC • วิเคราะห์เปรียบเทียบศักยภาพการผลิตด้านเกษตร กับจังหวัดในกลุ่ม หรือจังหวัดคู่แข่งที่ผลิตสินค้าแบบเดียวกัน เนื่องจาก จังหวัด เน้นส่งออกด้วย Product Champion • นำข้อมูล GPP สาขาเกษตร จากคลังจังหวัด คัดเลือกมา 10 รายการ เพื่อวิเคราะห์จัดทำ BCG Matrix iระบุ PC ที่ต้องการ สรุปภาพรวม ศก. ของจังหวัด GPP

  23. ขั้นตอนที่ 2 (ต่อ) : สรุปศักยภาพด้านที่เกี่ยวข้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ จาก ตย. สุพรรณบุรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ต้องสรุปด้านเกษตร อุตสาหกรรม จากการศึกษาทบทวนศักยภาพด้านเกษตร และอุตสาหกรรมของ จ.สุพรรณ เพื่อให้สามารถระบุ PC ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ของจังหวัดให้ได้ มีการทำ Slide ข้อมูลสนับสนุนทั้งหมด 10 Slide แต่ในการนำเสนออาจมีเวลาจำกัด อาจไม่ได้ลงรายละเอียดในการนำเสนอทุกหน้า Slide หรือตัด Slide ที่เป็นรายละเอียดไว้ด้านหลัง (Back-Up)

  24. ขั้นตอนที่ 2 (ต่อ) : การคำนวณ วิเคราะห์หา PC จากข้อมูล GPP เกษตร ล่าสัตว์ ป่าไม้ ประมง เพื่อจัดทำ BCG จากการศึกษาทบทวนศักยภาพด้านเกษตร และอุตสาหกรรมของ จ.สุพรรณ เพื่อให้สามารถระบุ PC ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ของจังหวัดให้ได้ มีการทำ Slide ข้อมูลสนับสนุนทั้งหมด 10 Slide แต่ในการนำเสนออาจมีเวลาจำกัด อาจไม่ได้ลงรายละเอียดในการนำเสนอทุกหน้า Slide หรือตัด Slide ที่เป็นรายละเอียดไว้ด้านหลัง (Back-Up)

  25. ขั้นตอนที่ 3 : สรุป PC ของประเด็นยุทธศาสตร์ และเลือกรูปแบบห่วงโซ่มูลค่าทั่วไป จาก ตย. สุพรรณบุรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 จะเป็น PC คือ “ข้าว” ดังนั้น จะเลือก GVC ที่ 1 เกษตร พืชเศรษฐกิจ (ข้าว) ข้อต่อห่วงโซ่มูลค่า เป็นกรอบแนวคิดของกิจกรรมหลัก List รายการข้อมูลภายใต้ห่วงโซ่ ที่แสดง เป็นกรอบแนวคิดของกิจกรรมย่อย เพื่อให้เชื่อมโยงไปสู่ รายการข้อมูล รายการที่แสดงทีมกลางได้พยายามใส่กิจกรรมทั้งหมดที่จะเป็นไปได้ แต่ในการปฎิบัติเพื่อพัฒนาจังหวัด ไม่สามารถดำเนินการพร้อมกันหมดได้ทุกกิจกรรมด้วยข้อจำกัดหลายๆ อย่าง ทั้ง เวลา งบประมาณ คนทำ ความเร่งด่วนจำเป็น จึงเป็นที่มาของการที่ต้องระบุ บางกิจกรรมที่สำคัญทีเน้นนั่นคือ การกำหนด CSF นั้นเอง

  26. ขั้นตอนที่ 3 (ต่อ) : การปรับข้อต่อห่วงโซ่มูลค่าทั่วไป GVC ไปเป็นข้อต่อห่วงโซ่มูลค่าประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด dกระบวนการค้าและการตลาด dกระบวนการแปรรูป dกระบวนการผลิต การวิจัยพัฒนา (R&D) - การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานและการพัฒนาเกษตรกร การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบ การตลาด เกษตรกร ผู้บริโภค จากฟาร์มเกษตรกรไปถึงมือผู้บริโภค (From Farmer to Market) ส่วนหนึ่งในการปรับ GVC  VC ให้ชัดเจนได้ คือการระบุชื่อผลิตภัณฑ์ที่เลือกลงไปในหัวข้อต่อห่วงโซ่มูลค่า จากศักยภาพ จ.สุพรรณ ที่สรุปเลือก Product Champion เป็นข้าว จึงมีการระบุสร้างความแตกต่างจาก GVC เป็น VC ข้าวสุพรรณ การวิจัยพัฒนา (R&D)ข้าว– การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานการปลูกข้าว และการพัฒนาเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวในจังหวัด การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การปลูกข้าว การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่มในข้าว การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบการตลาด ข้าว

  27. ขั้นตอนที่ 3 (ต่อ) : การปรับรายการข้อมูลภายใต้ห่วงโซ่ ที่แสดงกิจกรรมย่อย เพื่อให้เชื่อมโยงไปสู่รายการข้อมูล การวิจัยพัฒนา (R&D)ข้าว– การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานการปลูกข้าว และการพัฒนาเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวในจังหวัด การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การปลูกข้าว การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่มในข้าว การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบการตลาด ข้าว 1.1 วิจัยความต้องการข้าวของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ (เช่นราคา ชนิดข้าว ที่เหมาะสมกับค.ต้องการของผู้บริโภค) 1.2 มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค กับพื้นที่ จ.สุพรรณ 1.3 พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี เช่นการปรับปรุงดินการบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว เป็นต้น 1.4 วิจัยและพัฒนาระบบมาตรฐานการปลูกข้าวที่เท่ามาตรฐาน GAP เช่น เกณฑ์มาตรฐาน กลไกและผู้ให้การตรวจรับรองพันธุ์ข้าวและผลผลิตข้าวปลอดภัยทีรวดเร็วและน่าเชื่อถือเท่ามาตรฐาน GAP 1.5 การพัฒนา ดัดแปลงและเลือก ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวปลอดภัยทั้งกระบวนการ 1.6 ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าว เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.7 พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวทั้งกระบวนการ 1.8 มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าว 2.1 ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าว 2.2 สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เช่น การอบรม สาธิต ดูงานด้านการใช้พื้นที่เพาะปลูก การพัฒนาคุณภาพดิน แหล่งน้ำที่ปลอดภัยจากสารเคมี การเพิ่มผลผลิต และการลดต้นทุน เป็นต้น 2.3 เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตข้าว2.4 เกษตรกรมีแผนการผลิตข้าว และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Zoning and planning) 2.5 เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวให้เกิดประโยชน์ 3.1 โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวชนิดต่างๆ 3.2 ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบลดความชื้นข้าว เป็นต้น) 3.3 ผลผลิตข้าวสารปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมีมาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP 3.4 ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าว3.5 โรงสีชุมชนในกระบวน การผลิตข้าวของจังหวัดส่วนใหญ่เป็น Zero Waste Industry เช่นโรงสีข้าวสามารถควบคุมการปล่อยของเสียได้/แกลบสามารถขายไปทำเชื้อเพลิง/รำข้าวสามารถนำไปทำน้ำมันรำข้าว 4.1 ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด เช่น มียุ้งฉาง หรือโกดัง หรือสถานที่รวบรวมสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน(Warehouse) 4.2 ใช้ระบบการขนส่งข้าวที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าข้าวที่ร่วมในกระบวน การผลิตข้าวจนถึงตลาด 6.1 มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน 6.2 มีระบบตลาดซื้อขายข้าวล่วงหน้า 6.3 มีกลไกการกำหนดราคาข้าวที่เหมาะสมตามคุณภาพ 6.4 มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว 6.5 การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ 6.6 พัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันทางการตลาด (เช่น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาดกับภาคส่วนต่าง ๆ การรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรอง ) 6.7 มีรูปแบบและตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวที่ดึงดูด น่าสนใจ ใช้ง่ายและเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด ปรับรายการข้อมูลภายใต้ห่วงโซ่ ที่แสดงความชัดเจนว่าผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องคืออะไร จาก ตย. เลือกข้าว ก็จะระบุกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับข้าว (ถ้าดูใน GVC จะใช้คำว่า พันธุ์พืช ตอนนี้เป็น ข้าว หากจังหวัดอื่นเลือกเป็น ปลา เป็นผลไม้ ก็ต้องมีการปรับชื่อไปตามสิ่งที่เลือก) พยายามใส่กิจกรรมทั้งหมดที่จะเป็นไปได้ แล้วค่อยพิจารณาการกำหนด CSF VC ข้าว จ.สุพรรณ มี 6 ข้อต่อสำคัญ ภายใต้ข้อต่อมีกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องรวม 26 รายการ

  28. ขั้นตอนที่ 4 (ต่อ) : ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์คัดเลือก CSF และกำหนด KPI วิธีการวิเคราะห์ CSF ใช้ CSF จาก GVC ที่ครอบคลุมเป็นตัวตั้ง คัดเลือกแล้ววงหรือ Highlight : CSF ที่สำคัญและต้องการเลือก กรณี กิจกรรมไม่ตรง แต่ลักษณะคล้ายกัน ให้ปรับชื่อกิจกรรม (CSF) ให้สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด หรือข้อมูลของจังหวัด กรณี ไม่มีเลย ก็สร้าง CSF ใหม่ หมายเหตุ : ควรแยกสี และ มีคำอธิบายไว้ด้วย เพราะจะต้องเตรียมตอบคำถามในที่ประชุมกก. เช่น CSF เพิ่มใหม่จากที่ประชุม CSF เพิ่มจากที่ปรึกษา ข้อมูลที่ใช้ (ก่อนประชุม) กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์พิจารณา ตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศาสตร์ ภาพรวมโครงการที่นำเสนอของบประมาณภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์นี้ SWOT (ความเห็นทปษ./ทีมวิจัย) ข้อมูลศักยภาพ (ส่วนที่ 1-2) ของแผน (ความเห็นทปษ./ทีมวิจัย) และหากมีเวลาเพียงพออาจมีการหารือร่วมกับกลุ่มงานยุทธศาสตร์จังหวัด และสถิติจังหวัด เพื่อกำหนด CSF ร่วมกันได้ สัมภาษณ์ ผู้ว่า ข้อมูล (หลังประชุม : ต้อง coaching สถิติจังหวัด นำไปปรับเพิ่มได้) ความเห็นที่ประชุม ความเห็นคณะทำงานย่อย หรือ มีการเพิ่มเติม

  29. ขั้นตอนที่ 4 : การวิเคราะห์เลือก CSF กำหนด KPI ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม เกษตรอุตสาหกรรมพาณิชยกรรม การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ เพื่อการบริโภคและการส่งออก เป้าประสงค์ : เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ สินค้าเกษตร อุตสาหกรรมและเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก • การกำหนด CSF จากรายการข้อมูลภายใต้ห่วงโซนั้น จะใช้ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ ดังนี้ • กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์พิจารณา • ตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศาสตร์ • ภาพรวมโครงการที่นำเสนอของบประมาณภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์นี้ • และหากมีเวลาเพียงพออาจมีการหารือร่วมกับกลุ่มงานยุทธศาสตร์จังหวัด และสถิติจังหวัด เพื่อกำหนด CSF ร่วมกันได้ กลยุทธ์ตามแผนของจังหวัด ส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตวัตถุดิบและการตลาดให้มีคุณภาพและมาตรฐานเพื่อการแข่งขันทางการค้าและส่งออก 2. พัฒนาการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน 3. สนับสนุนและพัฒนาข้อมูลสารสนเทศด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร 4. สนับสนุนฟื้นฟู พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากรและเทคโนโลยีการผลิต 5. ส่งเสริมการมีงานทำ พัฒนาศักยภาพผีมือแรงงาน ดูแลสวัสดิการ สุขภาพอนามัย และความปลอดภัย การวิจัยพัฒนา (R&D)ข้าว– การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานการปลูกข้าว และการพัฒนาเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวในจังหวัด การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การปลูกข้าว การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่มในข้าว การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบการตลาด ข้าว

  30. กลยุทธ์ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1:การพัฒนาคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม เกษตรอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ เพื่อการบริโภคและการส่งออก การวิจัยและพัฒนา(R&D) และปัจจัยพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้างคุณค่า การพัฒนาระบบการตลาด การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร ศูนย์กระจายสินค้า (Logistics Center) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณภาพและปริมาณการผลิต (2) จัดการพื้นที่/ปรับปรุงคุณภาพดิน-น้ำ เพื่อการผลิต (9) การพัฒนาบรรจุหีบห่อ การพัฒนาตลาด/ ยกระดับมาตรฐานตลาดกลางสินค้า (5) การสร้างศูนย์ประสานงานระหว่างกลุ่มเกษตรกร และภาคธุรกิจ พัฒนากระบวน การแปรรูป (4) โครงการพัฒนาระบบบริหารการจัดการสินค้าคงคลังและการขนส่ง (54-56) การเพิ่มผลผลิต (6) การส่งเสริมการรวมกลุ่ม/ สร้างเครือข่ายอาชีพ(4) การพัฒนาขีดความสามารถใน การแข่งขัน(2) การพัฒนาพันธุ์ พืช/สัตว์ (6) ยกระดับและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปในกลุ่มสถาบันเกษตรกร การเกษตรผสมผสาน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง(2) การส่งเสริมกองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านอาชีพ (2) การสร้างระบบ มาตรฐาน(3) ส่งเสริมการตลาดสินค้า การเกษตรอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมี (6) พัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรแปรรูปจังหวัด สร้างคน สร้างงาน สร้างอาชีพที่สุพรรณบุรี • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • น้ำ-ชลประทาน (53) • ถนน (119) • อื่นๆ(12) โรงงานปุ๋ย/สีข้าว การสร้างตราสินค้าเพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงมาตรฐานแลภาพลักษณ์ ผลิตปุ๋ย (3) การส่งเสริมการสืบทอดวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้พลังงาน(1) การประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขาย พัฒนาองค์ความรู้/ศูนย์กลางเรียนรู้ (17) เพิ่มผลผลิตพันธุ์สัตว์น้ำพื้นเมือง ป้องกัน –แก้ไขปัญหาด้านการเกษตร (10) การพัฒนาจัดการข้อมูลการตลาด (Market Intelligence Unit) พัฒนาปรับปรุงผลผลิตทางการเกษตรเพื่อให้ได้เกณฑ์มาตรฐานสากล องค์ความรู้ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมสู่สถานประกอบการอุตสาหกรรม การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่าควบคุมโรคพืชในนาข้าว • ส่งเสริมการใช้แตนเบียนไตรโคแกรมม่าเพื่อควบคุมศัตรูอ้อย โครงการแผนพัฒนา 2553 หรือ 2554 การเปลี่ยนนิสัยเพาะปลูก • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • ปรับปรุงถนนเพื่อขนส่งสินค้าทางการเกษตร (3) • ก่อสร้างคันกั้นน้ำ โครงการแผนปฏิบัติ 2555 รวม 265 โครงการทั้งนี้มีโครงการที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาตร์อื่นๆ ดังนี้ด้านสังคม 5 โครงการ ด้านการท่องเที่ยว 2 โครงการ โครงการเกี่ยวข้องกับ ยุทธศาตร์อื่น การบริหารจัดการน้ำ การช่วยเกษตรกรวางแผนการผลิต โครงการนำเสนอใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง “CEO Retreat II (2005)”, 2004 30

  31. ขั้นตอนที่ 4 (ต่อ): การวิเคราะห์เลือก CSF กำหนด KPI นำไปสู่การกำหนดรายการข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้อง การวิจัยพัฒนา (R&D)ข้าว– การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานการปลูกข้าว และการพัฒนาเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวในจังหวัด การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การปลูกข้าว การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่มในข้าว การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบการตลาด ข้าว 1.1 วิจัยความต้องการข้าวของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ (เช่นราคา ชนิดข้าว ที่เหมาะสมกับค.ต้องการของผู้บริโภค) 1.2 มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค กับพื้นที่ จ.สุพรรณ 1.3 พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี เช่นการปรับปรุงดินการบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว เป็นต้น 1.4 วิจัยและพัฒนาระบบมาตรฐานการปลูกข้าวที่เท่ามาตรฐาน GAP เช่น เกณฑ์มาตรฐาน กลไกและผู้ให้การตรวจรับรองพันธุ์ข้าวและผลผลิตข้าวปลอดภัยทีรวดเร็วและน่าเชื่อถือเท่ามาตรฐาน GAP 1.5 การพัฒนา ดัดแปลงและเลือก ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวปลอดภัยทั้งกระบวนการ 1.6 ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าว เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.7 พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวทั้งกระบวนการ 1.8 มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าว 2.1 ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าว 2.2 สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เช่น การอบรม สาธิต ดูงานด้านการใช้พื้นที่เพาะปลูก การพัฒนาคุณภาพดิน แหล่งน้ำที่ปลอดภัยจากสารเคมี การเพิ่มผลผลิต และการลดต้นทุน เป็นต้น 2.3 เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตข้าว2.4 เกษตรกรมีแผนการผลิตข้าว และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Zoning and planning) 2.5 เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวให้เกิดประโยชน์ 3.1 โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวชนิดต่างๆ 3.2 ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบลดความชื้นข้าว เป็นต้น) 3.3 ผลผลิตข้าวสารปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมีมาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP 3.4 ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าว3.5 โรงสีชุมชนในกระบวน การผลิตข้าวของจังหวัดส่วนใหญ่เป็น Zero Waste Industry เช่นโรงสีข้าวสามารถควบคุมการปล่อยของเสียได้/แกลบสามารถขายไปทำเชื้อเพลิง/รำข้าวสามารถนำไปทำน้ำมันรำข้าว 4.1 ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด เช่น มียุ้งฉาง หรือโกดัง หรือสถานที่รวบรวมสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน(Warehouse) 4.2 ใช้ระบบการขนส่งข้าวที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าข้าวที่ร่วมในกระบวน การผลิตข้าวจนถึงตลาด 6.1 มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน 6.2 มีระบบตลาดซื้อขายข้าวล่วงหน้า 6.3 มีกลไกการกำหนดราคาข้าวที่เหมาะสมตามคุณภาพ 6.4 มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว 6.5 การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ 6.6 พัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันทางการตลาด (เช่น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาดกับภาคส่วนต่าง ๆ การรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรอง ) 6.7 มีรูปแบบและตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวที่ดึงดูด น่าสนใจ ใช้ง่ายและเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด VC ข้าว จ.สุพรรณ มี 6 ข้อต่อสำคัญ ภายใต้ข้อต่อมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องรวม 26 รายการ จากการทบทวน วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้กำหนดและเลือก CSF ได้ 11 รายการ

  32. ขั้นตอนที่ 5 : การจัดทำแผนผังรายการสถิติทางการ KPI ที่กำหนดขึ้นจากการทบทวนตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ และคัดเลือกรายการจากสถิติส่วนกลาง • รายการข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น เอามาจากรายการในสมุดสถิติทางการของจังหวัด กำหนดโดยการหารือระดมความเห็นร่วมกันทั้งที่ปรึกษาและสถิติจังหวัด • คอลัมน์ที่เหลือต่างๆ เป็นการ Check Stock Data ขอความร่วมมือสถิติจังหวัดให้ตรวจสอบเติมให้สมบูรณ์ รายการ CSF ที่เลือก จาก VC ที่จัดทำขึ้น

  33. ตัวอย่างการปรับ GVC  VC ยุทธศาสตร์ประเด็นด้านการท่องเที่ยว - ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  34. ตัวอย่าง จ.สุพรรณบุรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • ภาพรวม สภาพแวดล้อมของจังหวัด • ศักยภาพด้านท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวหลักของจังหวัด • สถานการณ์ทรัพยากรธรรม สิ่งแวดล้อมของจังหวัด • ประเด็นปัญหา ความต้องการของชุมชนในด้านการท่องเที่ยว และการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ** อาจแยกเป็น 2 VC ท่องเที่ยว กับ VC ทรัพย์-สิ่งแวดล้อม หรือการทำ Hybrid VC ท่องเที่ยว รวมกับทรัพย์-สิ่งแวดล้อม สรุปศักยภาพด้านการท่องเที่ยว การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวสู่การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด ได้จัดกลุ่ม Cluster การท่องเที่ยวโดยจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นกลุ่มท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง เนื่องจากสุพรรณบุรี มีแม่น้ำท่าจีน หรือ แม่น้ำสุพรรณบุรี ไหลผ่าน และมีโฮมสเตย์เรือนไทยอายุกว่า 100 ปี จำนวนมากกว่า 100 หลังแบบไร้รั้วกั้น ที่ บางแม่หม้าย อ.บางปลาม้า ซึ่งได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ประเภทรางวัลชุมชนดีเด่นทางด้านการท่องเที่ยวในปี 2550 นอกจากนี้ ยังมี ตลาดร้อยปีสามชุก เป็นต้น

  35. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สรุปสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ - สิ่งแวดล้อม • จากการวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพ และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามแผนพัฒนาจังหวัด พบว่า ศักยภาพด้านการท่องเที่ยว กับ สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีประเด็นสอดคล้องเชื่อมโยงกัน ดังนั้น ....... • จะแยกการจัดทำ VC เป็น 2 VC ท่องเที่ยว กับ VC ทรัพย์-สิ่งแวดล้อม • โดยระบุเลือกรูปแบบการท่องเที่ยว “ท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง” เป็นประเด็นสำคัญในการพัฒนาห่วงโซ่มูลค่าของประเด็นยุทธศาสตร์นี้ • และ จะปรับ GVCด้านทรัพยากรธรรมชาติ กับ GVC สิ่งแวดล้อม ทำรวมกันเป็น Hybrid VC ทรัพยากรธรรมชาติ – สิ่งแวดล้อม รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด

  36. Generic Value Chain การบริการและการท่องเที่ยว dผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ dการตลาด การบริหารจัดการ 3 4 1 2 5 6 7 พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ วาง ยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยว • การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน • พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว • การจัดการ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม • เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ประกอบการท่องเที่ยว • สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ • จัดทำมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว • ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา • แหล่งท่องเที่ยว • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว • การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม • พัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ สปา ดำน้ำ สนามกอล์ฟ ร้านอาหาร • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานธุรกิจนำเที่ยว • สนับสนุนธุรกิจการจัดประชุมและสัมมนา (MICE) • การทำการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network)

  37. Generic Value Chain ประเด็นด้านทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ (ดิน ป่าไม้ ชายฝั่ง ทะเล) ป้องกันและแก้ไขปัญหาการทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมืออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน • ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า • ป้องกันการพังทลายของดิน • เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกัน ดูแลป่าไม้ • ป้องกันการบุกรุกทำลายทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ไม่ให้เสื่อมโทรม • ฟื้นฟูและปรับปรุงคุณภาพดินโดยเฉพาะในพื้นที่เกษตรกรรม • ฟื้นฟูสภาพป่า/ระบบนิเวศน์ • ส่งเสริมเกษตรและภาคีเครือข่ายในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ดิน • เพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน • ฟื้นฟู/สร้าง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น • เผยแพร่องค์ความรู้/สร้างจิตสำนึก ด้านการอนุรักษ์ดิน ให้ชุมชนในพื้นที่ • ส่งเสริมให้เกิดการจัดทำแผนชุมชนชายฝั่ง โดยมีคณะกรรมการทั้งในระดับจังหวัด และระดับชุมชนท้องถิ่น • ส่งเสริมเกษตรและภาคีเครือข่ายในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ดิน อนุรักษ์ป่า • สร้างความมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลพื้นที่สีเขียว จัดทำระบบบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในชุมชน • พัฒนาระบบโครงสร้างการทำงานเชิงบูรณาการของหน่วยงานและชุมชนที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศและองค์ความรู้ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ • ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างคุ้มค่า • ส่งเสริมให้เกิดการจัดทำแผนชุมชนเพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน โดยมีคณะกรรมการทั้งในระดับจังหวัด และระดับชุมชนท้องถิ่น

  38. Generic Value Chain ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สร้างความมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ดี จากทุกภาคส่วน การพัฒนาระบบกำกับ ป้องกันปัญหา การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ และควบคุมการดำเนินงาน • กำหนดและจำแนกเขตพื้นที่ปัญหาและ/หรือมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต • คัดเลือกมาตรการจัดการป้องกัน แก้ไข หรือฟื้นฟูพื้นที่ตามความเหมาะสม • ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาซ้ำ • ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบังคับใช้โดยเฉพาะในพื้นที่วิกฤติ - เร่งด่วน • กำหนดมาตรการเชิงรุกในการติดตามและตรวจสอบสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • จัดทำระบบประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการในระดับพื้นที่ • การจัดการมลพิษ (คุณภาพอากาศ/ขยะและของเสีย อันตรายชุมชนและอุตสาหกรรม) • การสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบของทุกภาคส่วนต่อสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาและกระตุ้นบทบาทของภาคีเครือข่ายในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน (พื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์) • การจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติ แหล่งธรณีวิทยา แหล่งศิลปกรรม และแหล่งมรดกทางธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยว

  39. การปรับข้อต่อห่วงโซ่มูลค่าทั่วไป GVC ท่องเที่ยว ไปเป็นข้อต่อห่วงโซ่มูลค่าประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด VC ท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง dผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ dการตลาด การบริหารจัดการ 3 4 1 2 5 6 7 Generic Value Chain การบริการและการท่องเที่ยว พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ วาง ยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง และการวางแผน พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศก์ และบุคลากร พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง /ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง พัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ สนับสนุนการท่องเที่ยว วิถีชีวิตลุ่มน้ำภาคกลาง

  40. การปรับข้อต่อห่วงโซ่มูลค่าทั่วไป GVC ทรัพยากรธรรมชาติ และ GVC สิ่งแวดล้อมไปเป็น VC Hybrid ทรัพยากรธรรมชาติ – สิ่งแวดล้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาการทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมืออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน GVC ทรัพยากร ธรรมชาติ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สร้างความมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ดี จากทุกภาคส่วน การพัฒนาระบบกำกับ ป้องกันปัญหา การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ และควบคุมการดำเนินงาน GVC สิ่งแวดล้อม ระบุและแก้ไขปัญหาการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างความมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน การพัฒนาระบบกำกับ ป้องกันปัญหา การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ และควบคุมการดำเนินงาน

More Related