1 / 27

การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี. โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่. จัดทำแผนงาน / สนับสนุนงบฯ พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนับสนุนวิชาการ. กรมควบคุมโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์.

yovela
Download Presentation

การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

  2. โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่ จัดทำแผนงาน /สนับสนุนงบฯ พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนับสนุนวิชาการ กรมควบคุมโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สร้างกลไกขับเคลื่อน ติดตามการดำเนินงาน ประสานแผนงานกับงานอื่นๆ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดระบบบริการ ให้บริการที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงงานที่เกี่ยวข้องในหน่วยบริการ หน่วยบริการ โรงพยาบาล รพสต.

  3. แผนงานหลักการดำเนินงานโครงการส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แผนงานหลักการดำเนินงานโครงการส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน • การบริการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • พัฒนาศักยภาพ

  4. ระดับจังหวัด และหน่วยบริการสาธารณสุข พัฒนาศักยภาพ กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การบริการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สสจ.+ หน่วยบริการสาธารณสุข หน่วยบริการสาธารณสุข • จัดให้มีบริการในการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และให้บริการการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี • ในประชากรกลุ่มเสี่ยง • สร้างระบบส่งต่อบริการเชิงรุกสู่การคัดกรอง STI/VCT และ ผู้ที่มีผล STI/VCT positive ได้รับการส่งต่อการดูแลรักษา • ติดตามการดำเนินงานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในพื้นที่ • ให้บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (VCT) ในประชากรกลุ่มเสี่ยง • ส่งฐานข้อมูลการคัดกรองฯเพื่อเบิกเงินชดเชยบริการคัดกรองโรคตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด • สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรมในเรื่องต่างๆ ดังนี้ • การลดการตีตราในกลุ่มเป้าหมาย • การบันทึกข้อมูลการคัดกรอง STI/VCT และการใช้รหัส ICD-10 ในการปฎิบัติงาน(STI/VCT minirecord , HosXP) • การอบรมและฝึกปฎิบัติเรื่องการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  5. ระดับจังหวัด และหน่วยบริการสาธารณสุข พัฒนาศักยภาพ กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การบริการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานป้องกันควบคุมโรค หน่วยบริการสาธารณสุข ระดับ สคร. • สร้างระบบเครือข่ายการดำเนินงานด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของจังหวัดในพื้นที่ • ติดตามการดำเนินงานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของจังหวัดในพื้นที่ • ให้บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (VCT) ในประชากรกลุ่มเสี่ยง • ส่งฐานข้อมูลการคัดกรองฯเพื่อเบิกเงินชดเชยบริการคัดกรองโรคตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด • พัฒนาศักยภาพ จนท.ในพื้นที่รับผิดชอบ • จัดอบรมการลดการตีตราในกลุ่มเป้าหมาย • จัดอบรมการบันทึกข้อมูลการคัดกรอง STI/VCT และการใช้รหัส ICD-10 ให้แก่พื้นที่ปฎิบัติงาน(STI/VCT minirecord , HosXP) • จัดอบรมและฝึกปฎิบัติเรื่องการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  6. มาตรฐานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ตามกลุ่มเป้าหมายมาตรฐานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ตามกลุ่มเป้าหมาย

  7. การคัดกรองโรคในกลุ่มพนักงานบริการหญิงการคัดกรองโรคในกลุ่มพนักงานบริการหญิง • VDRL/RPRเพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส ตรวจทุก 3 เดือน ในกรณีVDRL/RPR ผิดปกติ ให้ตรวจยืนยันด้วย TPHA • HIV ตรวจทุก 6 เดือน • ตรวจ Gram Stain ทุก 1 เดือนโดยตรวจช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ ( ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น ) กรณีมีประจำเดือน ตรวจท่อปัสสาวะ • Wet Smearทุก 1 เดือน • คัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1 ครั้ง/ปี

  8. การคัดกรองโรคในพนักงานบริการชายการคัดกรองโรคในพนักงานบริการชาย • VDRL/RPRเพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส ตรวจทุก 3 เดือน ในกรณีVDRL/RPRผิดปกติ ให้ตรวจยืนยันด้วย TPHA • HIV ตรวจทุก 6 เดือน • ตรวจ Gram Stain ท่อปัสสาวะ ทุก 1 เดือน ( ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น ) • คัดกรองมะเร็งปากทวารหนัก 1 ครั้ง/ปี ( กรณีใช้ทวารหนักรับการสอดใส่อวัยวะเพศ และในกรณีที่สามารถทำการตรวจได้ มีสถาบันที่อ่านผลได้)

  9. การคัดกรองโรคในประชากรหญิงรวมวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศการคัดกรองโรคในประชากรหญิงรวมวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ • VDRL/RPR และ HIV testing เพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส และ การติดเชิ้อเอชไอวี และตรวจซ้ำอีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( detect โรคซึ่งอาจจะยังอยู่ใน window period) • Gram Stain สิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ (ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น) • Wet Smear สิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด ตรวจซ้ำ อีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( เพื่อเป็น biomedical marker สำหรับ follow up การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) • คัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีละ 1 ครั้ง

  10. การคัดกรองโรคในประชากรชาย รวมถึงวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ • VDRL/RPR และ HIV testing เพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส และ การติดเชิ้อเอชไอวี และตรวจซ้ำอีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( detect โรคซึ่งอาจจะยังอยู่ใน window period) • Gram Stain สิ่งส่งตรวจจากท่อปัสสาวะ ( ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น ตรวจซ้ำ อีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( detect โรคซึ่งอาจจะยังอยู่ใน window period และเพื่อเป็น biomedical marker สำหรับ follow up การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) • คัดกรองมะเร็งปากทวารหนัก (กรณีใช้ทวารหนักรับการสอดใส่อวัยวะเพศชาย)

  11. หลักเกณฑ์การจ่ายเงินการชดเชยบริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หลักเกณฑ์การจ่ายเงินการชดเชยบริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  12. แนวทางการแก้ไข: การชดเชยบริการ

  13. ระบบข้อมูลและการรายงานระบบข้อมูลและการรายงาน

  14. ตรวจสอบข้อมูล เพื่อชดเชยบริการคัดกรอง ส่งรายงานผลการชดเชยบริการรายสถานบริการรายไตรมาส กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตรวจสอบรายไตรมาส/ติดตามการส่งข้อมูลรายเดือนของ จ.ในเขตรับผิดชอบ ส่งออกข้อมูลรายเดือนจากโปรแกรม STI/VCT mini record หรือ HosXP สคร. ตรวจสอบรายไตรมาส/ติดตามการส่งข้อมูลรายเดือนของ หน่วยบริการในพื้นที่รับผิดชอบ สสจ. ฐานข้อมูล STI สำหรับเบิกเงินชดเชยบริการ หน่วยบริการสาธารณสุข

  15. ตัวอย่างการรายงานผลการชดเชยบริการรายสถานบริการรายไตรมาสตัวอย่างการรายงานผลการชดเชยบริการรายสถานบริการรายไตรมาส

  16. การติดตามรายงานการชดเชยบริการ: ตรวจสอบใน WWW.STIQUAL.COM

  17. ขั้นตอนการจัดสรรงบประมาณ แผนงานชดเชยบริการคัดกรองโรค STI

  18. หน่วยบริการจัดส่งข้อมูลให้ส่วนกลางหน่วยบริการจัดส่งข้อมูลให้ส่วนกลาง ส่วนกลางตรวจสอบ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องแจ้งผลการตรวจสอบให้ส่วนกลาง ส่วนกลางสรุป ส่งสรุปรายงานให้ สคร. และ สสจ. ตรวจสอบ มีข้อโต้แย้ง ภายใน 30 วัน ? มี ส่วนกลางประสานพื้นที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบ แจ้งข้อโต้แย้งให้ส่วนกลาง ไม่มี โอนงบประมาณให้ สคร และ สสจ. รายไตรมาส รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลาง (ภายใน 7 วัน)

  19. ตัวอย่างรูปแบบการจัดทำโครงการเพื่อใช้จ่ายเงินชดเชยบริการในพื้นที่ตัวอย่างรูปแบบการจัดทำโครงการเพื่อใช้จ่ายเงินชดเชยบริการในพื้นที่

  20. เงินนอกงบประมาณ โครงการ สปสช. ส่วนกลาง สสจ. ส่งใบสร็จรับเงินให้ส่วนกลางเมื่อได้รับเงินแล้วภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน บัญชีเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน สสจ. 1 2 สสจ.รวบรวมเอกสาร/โครงการของพื้นที่และเบิกจ่ายเงินตามโครงการที่พื้นที่ขออนุม้ติ สสจ.จัดทำโครงการร่มใหญ่ของจังหวัดที่ครอบคลุมกิจกรรมของพื้นที่ หน่วยบริการสาธารณสุข พื้นที่เบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมในโครงการจาก สสจ. พื้นที่จัดทำโครงการ และเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมจาก สสจ. เงินบำรุง หน่วยบริการ 3 หมายเหตุ : ห้ามนำเงินจากโครงการนี้เข้าบัญชีต่างๆ ของ สปสช. พื้นที่จัดทำโครงการ และเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมจาก เงินบำรุง หน่วยบริการ

  21. เงินนอกงบประมาณ โครงการ สปสช. ส่วนกลาง สคร. ส่งใบสร็จรับเงินให้ส่วนกลางเมื่อได้รับเงินแล้วภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน บัญชีเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน สคร. 1 2 สคร.รวบรวมเอกสาร/โครงการของพื้นที่และเบิกจ่ายเงินตามโครงการที่พื้นที่ขออนุม้ติ สคร.จัดทำโครงการร่มใหญ่ที่ครอบคลุมกิจกรรมของหน่วย หน่วยบริการสาธารณสุขที่อยู่ภายใต้ สคร. หน่วยฯ เบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมในโครงการจาก สคร หน่วยจัดทำโครงการ และเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมจาก สคร หมายเหตุ : ห้ามนำเงินจากโครงการนี้เข้าบัญชีต่างๆ ของ สปสช.

  22. การจัดสรรงบประมาณแผนงานกลไกการขับเคลื่อนสำหรับ สคร. และ สสจ.

  23. สคร. สคร. จัดทำโครงการเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ ในวงเงิน 20,000 บาท/จังหวัด รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลางภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน นำเสนอ ผอ. เพื่อขอความเห็นชอบ ดำเนินงานตามโครงการ ส่งโครงการให้ กลุ่มบางรักฯ ภายใน 31 ต.ค. 56 ส่งสรุปผลการดำเนินงานให้ส่วนกลางภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 โอนงบประมาณตามโครงการ

  24. สสจ. สสจ. จัดทำโครงการเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ ในวงเงิน 20,000 บาท รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลาง ภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน นำเสนอ สสจ. เพื่อขอความเห็นชอบ ดำเนินงานตามโครงการ ส่งโครงการให้ กลุ่มบางรักฯ ภายในวันที่ 31 ต.ค. 2556 ส่งสรุปผลการดำเนินงานให้ส่วนกลางภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 โอนงบประมาณตามโครงการ

  25. ประเด็นอภิปราย รูปแบบการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณของสสจ. ภายใต้โครงการฯ • เงินกลไกการขับเคลื่อน • เงินชดเชยบริการ • ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข • ตัวอย่างการทำงานที่ประสบความสำเร็จ

  26. ประเด็นการเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณเพื่อโครงการของหน่วยบริการสาธารณสุขประเด็นการเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณเพื่อโครงการของหน่วยบริการสาธารณสุข จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการคัดกรอง STI ขออนุมัติ

More Related