1 / 31

ยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการขับเคลื่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการขับเคลื่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. ดร. จิ ราวร รณ แย้มประยูร หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 22 เมษายน 2556. การขับเคลื่อนภาคการเกษตรสู่ประชาคมอาเซียน. สาระสำคัญของประชาคมอาเซียนและพันธะกรณี. กฎบัตรอาเซียน (The ASEAN Charter)

yves
Download Presentation

ยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการขับเคลื่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการขับเคลื่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการขับเคลื่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดร. จิราวรรณ แย้มประยูร หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 22 เมษายน 2556

  2. การขับเคลื่อนภาคการเกษตรสู่ประชาคมอาเซียนการขับเคลื่อนภาคการเกษตรสู่ประชาคมอาเซียน

  3. สาระสำคัญของประชาคมอาเซียนและพันธะกรณีสาระสำคัญของประชาคมอาเซียนและพันธะกรณี กฎบัตรอาเซียน (The ASEAN Charter) กรอบทางกฎหมายและทางสถาบันขออาเซียน ประชาคมอาเซียน (AC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) Master Plan on ASEAN Connectivity การเชื่อมโยงทางกายภาพ การเชื่อมโยงด้าน กฏระเบียบ การเชื่อมโยงระหว่างกันของประชาชน

  4. กฏบัตรอาเซียน (The ASEAN Charter) คือ ธรรมนูญอาเซียน จัดทำขึ้นเพื่อรับรอง การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ข้อกำหนดที่สำคัญในกฎบัตรอาเซียน • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ มีรูปแบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ มีวัตถุประสงค์ในการทำงานที่ชัดเจน • ทำให้อาเซียนเป็นนิติบุคคลแยกออกจากรัฐสมาชิก • เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน

  5. กลไกระดับอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน(ASEAN Summit) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council: ACC) คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Culture Community Council) คณะมนตรีประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Council) คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Council) การประชุม รมต./ จนท. อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Ministers Meeting on Social Welfare and Development-AMSWD การประชุม รมต./ จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Finance Ministers Meeting การประชุม รมต./จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Defense Ministers Meeting -ADMM คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงกันในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Connectivity Coordinating Committee : ACCC)

  6. กลไกระดับประเทศ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศเป็นประธาน) คณะกรรมการสำหรับ คณะมนตรีประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน คณะกรรมการดำเนินการเพื่อจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะอนุกรรมการดำเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน

  7. ภารกิจเร่งด่วน การเตรียมความพร้อมภายในประเทศ การเตรียมความพร้อม ส่วนราชการ ผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียนให้อยู่ในร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 การสร้างความตระหนักรู้และเตรียมความพร้อม การดำเนินการอย่างเข้มข้นเพื่อสร้างประชาคมและในการมีปฏิวัมพันธ์กับภายนอก ปรับโครงสร้างส่วนราชการเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ฝึกอบรมข้าราชการให้มีความพร้อม ในภาคประชาชน ในภาคการศึกษา

  8. สรุปแนวทางการเตรียมความพร้อมสรุปแนวทางการเตรียมความพร้อม

  9. การรวมตัวกันในภูมิภาคการรวมตัวกันในภูมิภาค

  10. แนวโน้มการค้าของกลุ่มอาเซียนแนวโน้มการค้าของกลุ่มอาเซียน มูลค่า(ล้านบาท)

  11. สินค้าเกษตรสำคัญของไทยในอาเซียนสินค้าเกษตรสำคัญของไทยในอาเซียน

  12. สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากอาเซียนสินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากอาเซียน มูลค่านำเข้า(ล้านบาท)

  13. การดำเนินงานภายใต้กรอบแผนงานแห่งชาติการดำเนินงานภายใต้กรอบแผนงานแห่งชาติ

  14. ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  15. ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558

  16. ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558 (ต่อ)

  17. ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)

  18. ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) วิสัยทัศน์ ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็นธรรม การสร้างความสามารถในการแข่งขัน(Growth & Competitiveness) - หลักการของยุทธศาสตร์ ต่อยอดรายได้จากฐานเดิม สร้างรายได้จากโอกาสใหม่ เพื่อความสมดุล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ • รักษาฐานรายได้เดิม และสร้างรายได้ใหม่ • เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิต (ต้องผลิตสินค้าได้เร็วกว่าปัจจุบัน) • ลดต้นทุนให้กับธุรกิจ (ด้วยการลดต้นทุนค่าขนส่งและโลจิสติกส์) คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา 4 ยุทธศาสตร์หลัก • ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม • ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กฎระเบียบ การสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth)

  19. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) • ยกระดับห่วงโซ่มูลค่าภาคอุตสาหกรรมสู่การใช้เทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อรักษาฐานอุตสาหกรรมเดิม และมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตที่สร้างรายได้ใหม่ • สร้างมูลค่าให้กับภาคเกษตร ภาคบริการ และการท่องเที่ยว เพราะเป็นแหล่งสร้างรายได้หลักและการจ้างงานขนาดใหญ่ของประเทศ • สร้างปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาภาคการผลิตและบริการ โดย • ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีปริมาณแรงงาน บริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบ โลจิสติกส์ ICT และพลังงาน ที่เพียงพอกับความต้องการ และมีคุณภาพระดับสากล • มีกฎ ระเบียบที่เอื้อต่อการสร้างความสามารถในการแข่งขัน • รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค • ใช้โอกาสจากเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ - Growth & Competitiveness เพิ่มรายได้จากฐานเดิม และสร้างรายได้จากโอกาสใหม่ Moving up value chain เพิ่ม Productivity ฐานเดิม อนาคต เกษตร อุตสาหกรรม ภาคท่องเที่ยว/บริการ ภาคการผลิตและบริการ ASEAN พัฒนาปัจจัยแวดล้อม รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน บก น้ำ อากาศ ICT พลังงาน R&D Innovation ปรับปรุง กฎ ระเบียบ การศึกษา

  20. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน เป้าหมาย : เศรษฐกิจขยายตัว รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น -

  21. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - • ลดการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรม ขนส่ง และครัวเรือน • ใช้พลังงานสะอาดเพิ่มขึ้น • ปรับกระบวนการผลิตสู่การผลิตคาร์บอนต่ำ • อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และปลูกป่า เพื่อเป็นแหล่งดูดซับคาร์บอน • รับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • สร้างความร่วมมือที่ดีในภูมิภาคอาเซียนในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีจริยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม Green Growth GHG เศรษฐกิจเติบโต ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี ลดการปล่อย GHG

  22. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง -

  23. ยุทธศาสตร์ประเทศและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์ประเทศและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ 1 Growth & Competitiveness โครงสร้างพื้นฐาน/ผลิภาพ/วิจัยและพัฒนา เสริมสร้างความมั่นคง เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน คน/คุณภาพชีวิต/ความรู้/ยุติธรรม ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ เพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ 2 Inclusive Growth ยุทธศาสตร์ 3 Green Growth ยุทธศาสตร์ 4 Internal Process พัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม สร้างความรู้ความเข้าใจและการตระหนักถึง กฎระเบียบ

  24. โครงการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Flagship Project) ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) - • 4 ยุทธศาสตร์ รวม 8 โครงการ : • ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน • มี 7 โครงการ • 1. บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) • 2. เมืองเกษตรสีเขียว • 3. พัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer • 4. พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน • 5. เพิ่มศักยภาพด่านสินค้าเกษตรชายแดน • 6. พัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืช • 7. ส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร •  ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มี 1 โครงการ • 8. การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน

  25. เมืองเกษตร • สีเขียว • พัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืช • เพิ่มศักยภาพด่านสินค้าเกษตรชายแดน • ปฏิรูปการเกษตรประเทศไทย (ปี 2556-2561) • งบประมาณรวมทั้งสิ้น 546,787.13 ล้านบาท • เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร • บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning)53,886.70 ล้านบาทโดยสร้างความสมดุลของปริมาณการผลิตและความต้องการใช้สินค้าเกษตรที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ(กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมการข้าว กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรมประมง สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมปศุสัตว์ และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร) พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน 125,407 ล้านบาท โดยเน้นการพัฒนาตั้งแต่ ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ GAP/GMP/HACCP • โครงการเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ข้าว พัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer 50,641.11 ล้านบาทโดยสร้างองค์ความรู้ ภูมิปัญญา เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร พัฒนาและสร้างคนรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคการเกษตร ยางพารา พืชพลังงาน (มันสำปะหลัง/อ้อย/ปาล์มน้ำมัน) 27,627 ล้านบาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน254,786.01 ล้านบาท ให้เกษตรกรมีน้ำใช้เพื่อทำการเกษตร อุปโภค และบริโภคในฤดูแล้ง รวมทั้งป้องกันบรรเทาอุทกภัยในฤดูน้ำหลาก สร้างความมั่นคงในอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ (กรมชลประทาน และสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม) 1,400.73 ล้านบาท 14,141.38 ล้านบาท ประมง (กุ้งทะเล/กุ้งก้ามกราม/ปลาน้ำจืด/ปลานิล) ปศุสัตว์ (สุกร/โคเนื้อ/โคนม/ไก่เนื้อ) 18,897.20 ล้านบาท

  26. การดำเนินงานเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้เกษตรกรการดำเนินงานเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้เกษตรกร

  27. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  28. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  29. เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์จาก AEC One Vision One Identity One Community

More Related