790 likes | 1.14k Views
การรู้สารสนเทศ : ขั้นตอนที่ 3 การค้นหาสารสนเทศ & การเข้าถึงสารสนเทศ. อ.ศศิพิมล ประพินพงศกร ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มศว Tel : 02-2600122 อาคาร 6 ห้อง 631 Contact : sasipimol@swu.ac.th Homepage: http://facstaff.swu.ac.th/sasipimol/.
E N D
การรู้สารสนเทศ: ขั้นตอนที่ 3การค้นหาสารสนเทศ & การเข้าถึงสารสนเทศ อ.ศศิพิมล ประพินพงศกร ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มศว Tel : 02-2600122 อาคาร 6 ห้อง 631 Contact : sasipimol@swu.ac.thHomepage: http://facstaff.swu.ac.th/sasipimol/
ขั้นตอนที่ 3 การค้นหาและการเข้าถึงสารสนเทศ (Location and Access) การค้นหาสารสนเทศ / การระบุแหล่ง สารสนเทศ (Locate sources)ค้นหาสารสนเทศภายในแหล่งสารสนเทศนั้นๆ (Find information within sources) Key point: จะค้นหาสารสนเทศและเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการจากแหล่งฯ นั้นได้อย่างไร เพราะแต่ละแหล่งฯ จะมีวิธีการค้นและการเข้าถึงที่แตกต่างกัน
การค้นหาและการเข้าถึงสารสนเทศเนื่องจากสารสนเทศที่ต้องการอาจมีอยู่ในทรัพยากรสารสนเทศ หรือแหล่งฯ ที่แตกต่างกันไป เช่น หนังสือ วารสาร ฐานข้อมูล อินเทอร์เน็ต ฯลฯ และทรัพยากรฯ เหล่านั้นก็มีวิธีการค้นหาและเข้าถึงที่แตกต่างกันไป ดังนั้นนอกจากที่จะต้องรู้วิธีการค้นหาและเข้าถึงแล้ว ยังจะต้องรู้ด้วยว่า จะได้สารสนเทศใดจากการใช้เครื่องมืออะไรอีกด้วย
ดังนั้นขั้นตอนนี้จึงต้องเรียนรู้ (มีทักษะ) ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ การกำหนดคำสำคัญ / การใช้คำค้น (Keyword) วิธีค้น / วิธีการสืบค้น (มีวิธีที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับแหล่งที่จะไปค้น) - การฝึกใช้โปรแกรมและเครื่องมือในการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศที่แตกต่างกันเทคนิคที่ใช้ในการสืบค้นการประเมินสารสนเทศที่ค้นได้การเข้าถึงตัวเนื้อหา / สารสนเทศ
การค้นหาสารสนเทศ ใช้ Library catalog (OPAC) - จะต้องใช้คำสำคัญ หรือ หัวเรื่องในการค้น - รู้เทคนิคในการค้น เช่น Advanced search, Boolean การสืบค้นผ่านทางอินเทอร์เน็ต - รู้จักการค้นผ่าน Search engine - รู้จักประเมินสารสนเทศจากเว็บไซต์
การสืบค้นผ่านฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ - มีวิธีการใช้และการสืบค้นที่แตกต่างกัน การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ / ผู้รู้ - รู้ว่าจะติดต่อกับบุคคลที่ต้องการได้อย่างไร - จะนัดสัมภาษณ์เพื่อพูดคุย ได้ที่ไหน และเมื่อไหร่
การสืบค้นสารสนเทศ • การสืบค้นสารสนเทศเป็นกระบวนการในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศที่ได้มีการบันทึกและเผยแพร่ไว้ในสื่อต่างๆได้แก่สื่อสิ่งพิมพ์สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีค้นหาในรูปแบบต่างๆเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ • เทคนิคในการสืบค้นสารสนเทศหมายถึงวิธีการค้นเพื่อให้ได้สารสนเทศตามวัตถุประสงค์อย่างรวดเร็วครบถ้วนและตรงต่อความต้องการ
การสืบค้นสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. Known item searchผู้ค้นทราบรายละเอียดบางส่วน ของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการค้นหรือการค้นแบบพื้นฐาน (Basic search) เช่น รู้ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ 2. Unknown item searchผู้ค้นไม่ทราบรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการค้นจึงต้องคิดคำค้นขึ้นมา การค้นแบบนี้เป็นการค้นแบบขั้นสูง (Advanced search)
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ เทคนิคสำคัญที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ มี 2 ประการ 1. การกำหนดคำค้น 2. เทคนิคการค้น
การกำหนดคำค้น คำค้นหมายถึงคำที่ผู้ใช้กำหนดขึ้นแทนเนื้อหาหรือสาระที่ต้องการเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศ คำค้นที่ใช้ในการค้นสารสนเทศโดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. คำศัพท์แบบควบคุม (Controlled vocabularies) 2. คำศัพท์แบบไม่ควบคุม (Uncontrolled vocabularies)
1. คำศัพท์แบบควบคุม • คำกลุ่มคำหรือวลีที่ถูกกำหนดขึ้นอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัดเพื่อใช้เป็นคำที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระของทรัพยากรสารสนเทศ • คำศัพท์แบบควบคุมในลักษณะนี้ได้แก่ • หัวเรื่อง (Subject heading) • อรรถาภิธาน (Thesaurus)
หัวเรื่อง(Subject heading) • คำกลุ่มคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นใช้ตามความหมายที่แน่นอนเพื่อบอกเนื้อหาสาระสำคัญของสารสนเทศที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกัน • คำหรือวลีที่ใช้เป็นหัวเรื่องมักเป็นคำที่สั้นชัดเจนและเฉพาะเจาะจงสามารถครอบคลุมเนื้อหาสารสนเทศนั้นได้
การปรุงอาหาร (ข้าว) การปรุงอาหาร (ผัก) การสื่อสารทางธุรกิจ ลักษณะโดยทั่วไปของหัวเรื่อง ข้าวLaw • มักเป็นคำนามคำเดียว • ถ้ามีคำนามสองคำขึ้นไป จะเชื่อมด้วยสันธาน “กับ” “และ” “and” 3. ถ้าเป็นกลุ่มคำหรือวลีจะเชื่อมด้วยบุพบทหรือ มีการใช้วงเล็บสำหรับกลุ่มคำที่ขึ้นต้นด้วยคำซ้ำกัน กฎหมายกับสังคม Body and mind
หัวเรื่องย่อย ตัวอย่างหัวเรื่อง โทรทัศน์ โทรทัศน์กับเด็ก โทรทัศน์กับวัยรุ่น โทรทัศน์เพื่อการศึกษา ไทย - - กวีนิพนธ์ - - การค้า - -กัมพูชา - - จีน - - การเมืองการปกครอง เพื่อกำหนดขอบเขตหรือความหมายให้เฉพาะเจาะจงของหัวเรื่องใหญ่ให้มากยิ่งขึ้นโดยใช้เครื่องหมาย (- -) คั่นกลาง
2. คำศัพท์แบบไม่ควบคุม • เป็นภาษาธรรมชาติ (Natural language) ได้แก่ คำ (Words) กลุ่มคำ (Terms) และวลี (Phases) ที่พบหรือรู้จักกันทั่วไปและปรากฏอยู่ในเนื้อหาของ ทรัพยากรสารสนเทศเช่นจาก ชื่อเรื่อง สาระสังเขป • คำศัพท์แบบไม่ควบคุมในลักษณะนี้ได้แก่ คำสำคัญ (Keyword)
คำสำคัญ (Keyword) • คำหรือวลีที่เป็นศัพท์อิสระ อาจเป็นคำที่ปรากฏในส่วนของชื่อผู้แต่งชื่อเรื่องชื่อบทความสาระสังเขปเนื้อหาหมายเหตุชื่อชุดเป็นต้น
การกำหนดคำค้น การวิเคราะห์ปัญหา คำถามหรือเรื่องที่ต้องการค้นหาว่ามีประเด็นหลัก (Concepts) และประเด็นที่เกี่ยวข้อง (Aspects) อะไรบ้าง • ประเด็นหลัก จะได้คำค้นที่เป็นคำสำคัญ • ประเด็นที่เกี่ยวข้อง จะได้คำช่วยให้จำกัดขอบเขตของข้อมูลให้แคบลงหรือตรงประเด็นมากที่สุดเช่น สถานที่ เวลา
วิธีกำหนดคำค้น ทำอย่างไร? 1. ลองเขียนประโยค 1-2 ประโยคที่อธิบายเกี่ยวกับเรื่อง หรือสิ่งที่เราต้องการหา 2. ขีดเส้นใต้ หรือดึงคำที่คิดว่าเป็นคำเฉพาะ หรือคำสำคัญที่อธิบายถึงเรื่องที่เราต้องการออกมา 3. List คำเหล่านั้นออกมา แล้วหาความหมายของคำที่ใกล้เคียงหรือเกี่ยวข้องกับคำเหล่านั้น ในแง่มุมต่อไปนี้
วิธีกำหนดคำค้น ทำอย่างไร? - คำที่มีความหมายเหมือนกัน / เกี่ยวข้องกัน - คำที่มีความหมายกว้างกว่า - คำที่มีความหมายแคบกว่า - ลองสะกดคำแบบอื่น (ถ้ามี) - หากสิ่งที่ต้องการค้นหาเกี่ยวกับเหตุการณ์ ให้นึกถึงว่า เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อใด ที่ไหน
ปัญหาการติดเอดส์ของผู้สูงอายุในประเทศไทยปัญหาการติดเอดส์ของผู้สูงอายุในประเทศไทย ไทย เอดส์ ผู้สูงอายุ
เอดส์ เหมือน / เกี่ยวข้อง โรคเอดส์ กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม เอชไอวีHIV AIDS กว้างกว่า พฤกษศาสตร์ พืช
ผู้สูงอายุ เหมือน / เกี่ยวข้อง คนชรา คนแก่ วัยชราHIV AIDS กว้างกว่า วัยผู้ใหญ่
สมุนไพรรักษาโรคได้อย่างไรสมุนไพรรักษาโรคได้อย่างไร สมุนไพร การรักษา
แคบกว่า ขมิ้นชัน ฟ้าทลายโจรสะเดา ผักแว่น ฯลฯ สมุนไพร เหมือน / เกี่ยวข้อง เครื่องยาจากพืช พฤกษศาสตร์การแพทย์ อุตสาหกรรมยาจากพืช กว้างกว่า โรคเกิดจากไวรัส โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวอย่างการกำหนดคำสำคัญจากชื่อเรื่องของหนังสือตัวอย่างการกำหนดคำสำคัญจากชื่อเรื่องของหนังสือ ชื่อเรื่อง: บทบาทในการสอนการรู้สารสนเทศของครู บรรณารักษ์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร คำสำคัญ: การรู้สารสนเทศ ครูบรรณารักษ์
ตัวอย่างการกำหนดคำค้นตัวอย่างการกำหนดคำค้น ต้องการข้อมูลสาเหตุการติดยาเสพติดของนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่ ประเด็นหลัก ยาเสพติด นักเรียน นักศึกษา ประเด็นที่เกี่ยวข้อง เชียงใหม่ คำค้น ยาเสพติด สารเสพติด ยาบ้า นักเรียน นักศึกษา เยาวชน วัยรุ่น เชียงใหม่
ตัวอย่าง Keyword และ Subject คำค้นทั่วไป หัวเรื่องที่ห้องสมุดกำหนด e-commerce, online commerce, electronic commerce online business, การค้าทาง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์, อีคอมเมิร์ส AIDS, เอดส์, เอชไอวี กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม Acquired Immunodeficiency Syndrome หมู หมา สุกร สุนัข
จะหาหนังสือชื่อว่า คู่มือคนรักหมา • สุนัข -- การเลี้ยง. • สุนัข -- โรค. ข้อมูลพื้นฐานในการจัดการ E-Commerceสำหรับพ่อค้าแม่ขายยุคดอทคอม • พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคนิคการค้นที่ใช้กันโดยทั่วไปเทคนิคการค้นที่ใช้กันโดยทั่วไป • การค้นจากเขตข้อมูลที่ฐานข้อมูลกำหนด • การใช้ตรรกแบบบูล (Boolean logic) • การตัดปลายคำและการแทนคำ (Truncation / Wildcard) • การใช้เครื่องหมายวงเล็บ (Nesting) • การใช้เครื่องหมาย “…………….”
2. การค้นจากเขตข้อมูลต่างๆ(Fields) • ใช้เพื่อจำกัดผลการค้น เช่น ค้นจากเขตข้อมูลชื่อ ผู้แต่ง ชื่อหนังสือ หัวเรื่อง คำสำคัญ ฯลฯ
2. การใช้ตรรกแบบบูล (Boolean logic)
คอมพิวเตอร์ AND OR NOT XOR การศึกษา
คอมพิวเตอร์ การศึกษา AND OR NOT
คำเชื่อมที่ใช้ ผลการสืบค้น จำนวนรายการที่ได้ AND ทั้งคอมพิวเตอร์และการศึกษา 43 titles NOT เฉพาะเรื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีเรื่องการศึกษา 574 titles OR คอมพิวเตอร์หรือการศึกษาหรือทั้ง 2 เรื่อง 3910 titles
3. การตัดปลายคำและการแทนคำ(Truncation/Wildcard) • เป็นการใช้คำค้นคำเดียวแทนคำอื่นทุกคำที่มีรากศัพท์เดียวกันเป็นการรวบรวมคำที่มีการสะกดคำที่ใกล้เคียงกันหรือเหมือนกันหรือกรณีที่เป็นคำเอกพจน์และพหูพจน์ • ใช้อักขระตัวแทน (Wildcard) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์เช่น* # ? ! $เป็นต้น เช่น child*จะค้น child, children, childhood, childish ban* จะค้น ban, banana, band, bandage, bandit, bank, banner educat*จะค้น education, educational, educator
* econom*จะค้น "economy", "economics", economical“ librar*จะค้น “library”, “libraries”, “librarian”, “librarians” ? (การใช้อักขระแทนคำ) "wom?n" will find "woman" and "women"
4. การใช้เครื่องหมายวงเล็บ(Nesting / Parentheses) • ใช้เพื่อจับกลุ่มคำในแต่ละส่วน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ • ใช้ร่วมกับตรรกแบบบูลเพื่อแบ่งคำสั่งออกเป็นส่วนๆสำหรับการค้นแบบ Advanced search) (televisionormass media) and children ต้องการเรื่องเกี่ยวกับสื่อโทรทัศน์กับเด็ก และสื่อมวลชนกับเด็ก
5. การใช้เครื่องหมาย “…………………” • ใช้ค้นในกรณีที่ต้องการให้คำสองคำอยู่ติดกัน เช่น “Adult education” “เว็บไซต์ห้องสมุด” “ห้องสมุดดิจิทัล”
ตัวอย่างการค้น • (ผู้หญิง ORสตรี) AND สุขภาพ = ผู้หญิง AND สุขภาพ และ สตรี AND สุขภาพ • (Kidney disease AND children) NOT infant
ตัวอย่างการค้นแบบขั้นสูง : • E-publications AND libraries NOT e-books • (E-pub* OR Digital pub* OR E-Journals) AND (Libraries or “Information Centers” or “Reading Centers”) NOT E-books
สิ่งที่พบบ่อยจากการสืบค้นสิ่งที่พบบ่อยจากการสืบค้น • ได้ผลการสืบค้นมากไป • ได้ผลการสืบค้นน้อยไป • ได้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
ข้อควรพิจารณา / ปรับการค้นใหม่ • กรณีผลการสืบค้นมากไป • กรณีผลการสืบค้นน้อยไป • ได้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง • ให้ดูว่าได้ใช้คำค้นเป็นคำที่กว้างไปหรือไม่ • ใช้คำค้นเพิ่มให้เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น • ไม่ควรใช้วลีในการค้น
การแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้นการแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้น • กรณีผลการสืบค้นมากไป • กรณีผลการสืบค้นน้อยไป • ได้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง • ปรับเปลี่ยนคำค้นให้มีความหมายกว้างขึ้นเหมือนใกล้เคียงกันหรืออาจใช้การตัดคำ
การแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้นการแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้น • กรณีผลการสืบค้นมากไป • กรณีผลการสืบค้นน้อยไป • ได้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง • สะกดคำค้นถูกต้องหรือไม่ • ตรวจสอบดูว่าฐานข้อมูลที่ค้นนั้นครอบคลุมเรื่องที่เราต้องการหรือไม่ • ฝึกฝนการใช้หัวเรื่องและคำสำคัญ
การค้นหาสารสนเทศ สืบค้นผ่าน Library catalog (OPAC)SWU OPACCU OPAC รวม OPAC มหาวิทยาลัยอื่นๆ
เทคนิคการสืบค้น OPAC โดยทั่วไป การสืบค้นแบบเรียงตามลำดับอักษร (Alphabetical search) • สามารถพิมพ์ได้ทั้งตัวใหญ่ ตัวเล็กB b • ไม่ต้องพิมพ์ article นำหน้าเช่นA An The • ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ทั้งหมด เช่น • คู่มือการใช้เครื่องมือใน . . .
คนไทยที่เป็นสามัญชน การสืบค้นด้วยผู้แต่ง (Author) • พิมพ์ด้วยชื่อต้น นามสกุล ตามลำดับ • ไม่ใส่คำนำหน้าชื่อ เช่น นาย นางสาว ดร. ศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ต.ต. นพ. พญ. ฯลฯ • ผู้แต่งที่ใช้นามแฝง ทมยันตี ศาสตราจารย์ ดร. สุดใจ เหล่าสุนทรสุดใจ เหล่าสุนทร สาทิส อินทรกำแหง
ชาวต่างประเทศ • ชาวตะวันตก พิมพ์ ชื่อสกุล, ชื่อต้นและชื่อกลาง แดน, ปีเตอร์ เอส คุโรยานางิ, เท็ตสึโกะ Rowling, J.K.
พระมหากษัตริย์ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีบรรดาศักดิ์ต่างๆ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. ธรรมศักดิ์มนตรี, เจ้าพระยา วิจิตรวาทการ, หลวง
ผู้แต่งที่เป็นนิติบุคคล เช่น หน่วยงานที่เป็นองค์กร กระทรวง กรม ต่างๆ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒกรมการค้าภายในกระทรวงคมนาคมการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย