580 likes | 742 Views
การบริหารงาน OP PP Individual Records ปีงบประมาณ 2557 การตรวจสอบข้อมูล Audit & Pending OP/PP indiv. สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ. วัตถุประสงค์. เพื่อพัฒนาคุณภาพ และ สร้างความน่าเชื่อถือ ของข้อมูล
E N D
การบริหารงาน OP PP IndividualRecordsปีงบประมาณ 2557การตรวจสอบข้อมูล Audit & Pending OP/PP indiv. สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาคุณภาพ และสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล • เพื่อป้องกันและยับยั้งการบันทึกข้อมูลที่ไม่พึงประสงค์(ไม่ได้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหรือให้บริการจริง)
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล (Audit) สปสช.ส่วนกลาง สปสช.เขต • ความคลาดเคลื่อนของข้อมูล • Utilization rate • ข้อมูล OP/PP/Survey • การให้รหัส • Software ที่ใช้ สปสช.เขต Pending ผิดปกติ ตรวจสอบข้อมูล Statement - ออกรายงาน ปกติ งดการจัดสรร
กระบวนการตรวจสอบข้อมูลกระบวนการตรวจสอบข้อมูล 1 2 OP MCH Verify & Processing Auditing & Pending Raw Data PP NCD OP/PP indiv Record OP/PP indiv Record OP/PP indiv Record LABFU SURVEIL - Condition - Detect - Inform -Structure- Code PERSON ……
ผังการดำเนินงานการตรวจสอบข้อมูล Auditing & Pending ประกาศสรุปผลการ Pending ผ่านเว็บไซต์ สปสช. ส่วนกลาง สปสช. เขต ออกพื้นที่ตรวจสอบ และ แจ้งผลการตรวจสอบมาที่ สปสช. ส่วนกลาง ส่งข้อมูลที่มีความผิดปกติ ให้แต่ละ สปสชเขต พิจารณา จัดทำข้อมูล Audit สปสช. (สจช.) หน่วยบริการ สปสช. เขต แจ้งผลการตรวจสอบมาที่ สปสช. ส่วนกลาง ขออุทธรณ์ แจ้งผลการตรวจสอบ รายงานสรุปผล สสจ. กำกับดูแล ส่งเอกสาร และ ประกาศรายชื่อหน่วยบริการที่ถูก Pending ให้ สปสช. เขต , สสจ
เงื่อนไขการ Monitoring & Warning • การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลผู้ป่วยนอก (OP) เพิ่มเติม ในกรณีตรวจพบ หน่วยบริการมีอัตราการใช้บริการ (Utilization Rate) ที่ผิดปกติไปจากค่าเฉลี่ยมาตรฐานเกินจริง หรือมีความไม่สอดคล้องกัข้อเท็จจริงของการให้บริการ หรือไม่สอดคล้องกับหลักวิชาการทางการ แพทย์ และการสาธารณสุข
เงื่อนไขการชะลอการจ่าย Pending ตามคู่มือฯ
เงื่อนไขการตรวจสอบ OP Visit
การเกณฑ์การ Pending รพ.สต. ขนาดเล็ก > กว่า 3 SD Mean = 2.98 3SD= 7.44 SD = 1.48
การเกณฑ์การ Pending รพ.สต. ขนาดกลาง > กว่า 3 SD Avg = 2.27 3SD= 5.66 SD = 1.12
การเกณฑ์การ Pending รพ.สต. ขนาดใหญ่ > กว่า 3 SD Avg = 1.66 3SD= 4.78 SD = 1.03
OP Visit เสียชีวิตมารับบริการ
บันทึกวันที่ให้บริการโดยไม่ได้ทำกิจกรรมบันทึกวันที่ให้บริการโดยไม่ได้ทำกิจกรรม วันที่ส่งข้อมูล กิจกรรมที่บันทึก date_send ppcare1,ppcare2,ppcare3
สัดส่วนระยะการดูแลแม่ครั้งที่ ตามเกณฑ์มาตรฐาน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 3 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 43 วันหลังคลอด กรณีที่มีการมารับบริการมากกว่า 1 ครั้งในแต่ละช่วงเวลา (ครั้งที่ 1, ครั้งที่ 2, ครั้งที่ 3) ให้จัดส่งข้อมูลการให้บริการครั้งสุดท้ายในแต่ละช่วงเวลา
ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 1 ที่ไม่อยู่ในเกณฑ์ การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด
ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 2ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 16 วัน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด
ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 2ระยะห่างจาก BDATE มากกว่า 42 วัน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด
ความถี่ของการบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 3ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 42 วัน หมายเหตุ การดูแลแม่หลังคลอดเน้นการดูแลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย การดูแลแม่ครั้งที่ 1 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 1 - 15 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 2 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 16 - 42 วันหลังคลอด การดูแลแม่ครั้งที่ 3 หมายถึง การดูแลแม่ตั้งแต่ 43 วันหลังคลอด
ข้อมูลหน่วยบริการ 5 อันดับแรกบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 3ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 42 วัน (3 วัน)
ข้อมูลหน่วยบริการ 5 อันดับแรกบันทึกระยะการดูแลแม่ครั้งที่ 3ระยะห่างจาก BDATE น้อยกว่า 42 วัน (28 วัน)
จำนวนผู้ป่วยที่พบว่าเสียชีวิต ก่อนวันเข้ารับบริการ
เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม Surveil
การรายงานโรคซ้ำซ้อน • การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยที่สงสัย (Suspected case) โดยไม่ต้องรอผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หากพบการระบาดโดยมีผู้ป่วยมากกว่า2รายขึ้นไปที่มีความเชื่อมโยงกันทางระบาดวิทยาควรรายงานทันทีทางโทรศัพท์โทรสารหรือจดหมายอิเลคทรอนิกส์ไปยังสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค และสำนักระบาดวิทยา ตามลำดับทำการสอบสวนและควบคุมโรคภายใน24ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย • การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ผู้ป่วยรายเดียวกันในระยะหนึ่งสัปดาห์ถือว่าซ้ำซ้อน แนวทางการรายงานโรคที่มีความสำคัญสูง 2555 ประเทศไทย กรมควบคุมโรค
ตัวอย่างข้อมูลสำคัญ นิยาม แนวทางการสอบสวนโรคเบื้องต้น อหิวาตกโรค (Cholera) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ● การรายงานผู้ป่วยรายเดียวกันในระยะ 10 วันถือว่าซ้ำซ้อน ● ต้องตรวจสอบ (verify) ข้อมูลผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับรายงาน
ตัวอย่างการรายงานโรคซ้ำซ้อนที่ตรวจพบตัวอย่างการรายงานโรคซ้ำซ้อนที่ตรวจพบ วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
การบันทึกข้อมูลแฟ้ม EPI ผู้ที่ให้บริการเสียชีวิตก่อนวันเข้ารับบริการ วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลแฟ้ม EPI ผู้ที่ให้บริการเสียชีวิตก่อนวันเข้ารับบริการ แสดงระยะห่างระหว่างวัน วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทยตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย The Expanded Programme on Immunization in Thailand : นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
กำหนดการให้วัคซีนในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดการให้วัคซีนในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข
อายุเมื่อเริ่มให้วัคซีนและระยะห่างระหว่างโดสขั้นต่ำอายุเมื่อเริ่มให้วัคซีนและระยะห่างระหว่างโดสขั้นต่ำ
วัคซีน JE ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 อย่างน้อย 7 วัน อย่างน้อย 6 เดือน ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ อายุ 6 เดือนขึ้นไป
วัคซีน dT ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 อย่างน้อย 1 เดือน กระตุ้นทุก 10 ปี อย่างน้อย 6 เดือน ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ เมื่อแรกพบ
วัคซีน DTP อย่างน้อย 1 ปี อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 6 เดือน 3 2 4 5 1 อายุ 42 วันขึ้นไป ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้
บันทึกการให้วัคซีน dTs1,dTs2,dTs3,dTs4 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม กรณีวันเดียวกัน
ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน dTs1,dTs2,dTs3,dTs4 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม กรณีวันเดียวกัน
ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2 ช่วงเวลาไม่เหมาะสมกรณีบันทึกวันเดียวกัน วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2 ช่วงเวลาไม่เหมาะสมกรณีบันทึกวันเดียวกัน • ระยะห่างระหว่างเข็ม JE1 และ JE2 • กรณีแรกเกิดหรือขวบปีแรก ระยะห่าง ให้ 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์ • กรณีช่วงอายุ 1 -6 ปี ระยะห่าง ให้ 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์ • กรณีช่วงอายุ 7 ปี ขึ้นไป ระยะห่าง ให้ 2 ครั้งห่างกัน 2 สัปดาห์ เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันได้เร็วขึ้น
ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2,JE3ช่วงเวลาไม่เหมาะสม วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
ตัวอย่าง การบันทึกให้วัคซีน JE1,JE2,JE3ช่วงเวลาไม่เหมาะสม วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
บันทึกการให้วัคซีน DTP1,DTP2,DTP3,DTP4,DTP5 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม
บันทึกการให้วัคซีน HBV1,HBV2,HBV3 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม
บันทึกการให้วัคซีน OPV1,OPV2,OPV3,OPV4,OPV5 ช่วงเวลาไม่เหมาะสม
เงื่อนไขการตรวจสอบแฟ้ม NCDSCREEN
แนวโน้มจำนวนข้อมูลกรณีการบันทึกให้บริการผู้ที่เสียชีวิตในแฟ้ม NCDSCREEN
บันทึกจำนวนผู้ที่พบว่าเสียชีวิต แฟ้ม NCDSCREEN (มีการคัดกรองคนที่เสียชีวิตแล้ว) วันคัดกรอง date_exam ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม วันคัดกรอง date_exam ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556
บันทึก ความดันโลหิต ครั้งที่ 1,2 บันทึกค่า ไม่เหมาะสม วันคัดกรอง date_serv ตั้งแต่ กรกฎาคม-กันยายน 2556