830 likes | 1.02k Views
อ.นรชิต จิรสัทธรรม. วิชา 962101. ห้องพัก ชั้น 4 ตึกคณะวิทยาการจัดการ. Chapter 5 ทฤษฎีการผลิต. กฎของอุปสงค์( Demand ). พฤติกรรมผู้บริโภค. กฎของอุปทาน ( Supply ). พฤติกรรมผู้ผลิต. P. S. D. Q. Micro Economics. ปัญหาของผู้ผลิต. What to produce How to produce
E N D
อ.นรชิต จิรสัทธรรม วิชา 962101 ห้องพัก ชั้น 4 ตึกคณะวิทยาการจัดการ
กฎของอุปสงค์(Demand) พฤติกรรมผู้บริโภค กฎของอุปทาน(Supply) พฤติกรรมผู้ผลิต P S D Q Micro Economics
ปัญหาของผู้ผลิต • What to produce • How to produce • How much to produce เป้าหมายของผู้ผลิต(...................*)…ดังนั้นผู้ผลิตต้องทราบ • Price of output & Input • Quantity of output & input • Cost & revenue *อาจมีเป้าหมาย อื่น ๆ เช่น ผลผลิตมากสุด ประสิทธิภาพสูงสุด
Production Process Input Output Technology การผลิต (Production) กระบวนการเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิต(Input) ที่ใส่เข้าไป ให้เป็นผลผลิต(Output) ผลผลิต(Output)หมายรวมทั้ง สินค้า(Goods) และบริการ (Service)
การผลิตกับประสิทธิภาพการผลิต • ประสิทธิภาพ คือสัดส่วนของผลผลิตต่อปัจจัยที่ใช้ 1.1 ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency) คือวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ผลผลิตต่อปัจจัยการผลิตมีค่ามากที่สุด ซึ่งมีสองมุมมอง ประกอบด้วย 1. ผลผลิตเท่ากัน ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด2. ใช้ปัจจัยการผลิตเท่ากัน ได้ผลผลิตมากที่สุด (ไม่ได้คำนึงถึงราคาของปัจจัยการผลิต ไม่สามารถหาคำตอบ ณ จุดกำไรสูงสุด)
จำนวนทุนและแรงงานที่ใช้ในการผลิตบัณฑิตจำนวน 10,000 คน/ปี บอกไม่ได้ว่าควรเลือกทางเลือกใด * ราคาทุน = 1,000 บาท/หน่วย/ปี ราคาแรงงาน = 120 บาท/หน่วย/ปี
1.2 ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Efficiency) คือวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพโดยนำราคาของปัจจัยการผลิตมาพิจารณาด้วย ดังนั้น จึงเลือกวิธีการผลิตที่ 3 เสียต้นทุน 12,600 บาท
2. การผลิตกับระยะเวลาในการผลิต ประเภทของปัจจัยการผลิต (Factor) • ปัจจัยคงที่ (Fixed Factor) หมายถึง ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามปริมาณการผลิต (ไม่ว่าจะผลิตมากหรือน้อยภายใต้ระยะเวลาหนึ่ง ก็จะใช้เท่าเดิม) เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร • ปัจจัยแปรผัน (Variable Factor) หมายถึง ปัจจัยที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามปริมาณการผลิต (ผลิตมากใช้มาก ผลิตน้อยใช้น้อย) เช่น น้ำมัน เมล็ดพันธุ์พืช ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช
2. การผลิตกับระยะเวลาในการผลิต 2.1 การผลิตในระยะสั้น (Short run period) หมายถึง การผลิตในระยะเวลาที่สั้นมากจนกระทั่งผู้ผลิตไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงจำนวนปัจจัยการผลิตบางชนิดได้ (มีปัจจัยบางชนิดเป็นปัจจัยคงที่) 2.2 การผลิตในระยะยาว (Long run period) หมายถึง การผลิตในระยะเวลาที่ยาวจนกระทั้งผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงจำนวนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ (มีแต่ปัจจัยผันแปร)
2. การผลิตกับระยะเวลาในการผลิต
2. การผลิตกับระยะเวลาในการผลิต • การผลิตในระยะสั้น หรือระยะยาว • ไม่ขึ้นกับระยะเวลา ขึ้นกับชนิดของปัจจัยการผลิต- แต่ละอุตสาหกรรมมีระยะเวลาในการแบ่งการผลิตระยะสั้น และระยะยาวไม่เท่ากัน • (ธุรกิจที่มีขนาดเล็กมักจะเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตได้ง่ายกว่า และมีระยะเวลาของการผลิตระยะยาวสั้นกว่า ธุรกิจที่มีขนาดใหญ่)
2.1 มุมมองในการผลิตระยะสั้น 2.1.1 ผลผลิตประเภทต่างๆ • ผลผลิตรวม (Total Product : TP หรือ Q หรือ Y) คือผลผลิตทั้งหมดที่ได้จากการใช้ทรัพยากรจำนวนหนึ่งในการผลิต • TP คำนวณได้จากผลรวมของผลผลิตส่วนเพิ่ม
2.1.1 ผลผลิตประเภทต่างๆ • ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) คือสัดส่วนของผลผลิตรวมต่อจำนวนปัจจัยผันแปร (L) • สูตร AP = TP / L L คือ แรงงาน เป็นปัจจัยผันแปรที่ใช้ในการผลิต หรืออาจใช้ X
2.1.1 ผลผลิตประเภทต่างๆ • ผลผลิตส่วนเพิ่ม (Marginal Product : MP) คือจำนวนผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มปัจจัยผันแปร 1 หน่วย • สูตร MPL = DTP / DL MPL = (TPn – TPn-1) / (Ln – Ln-1 )
TP Stage I Stage II Stage III AP MP เส้นผลผลิตประเภทต่างๆ
2.1.2 กฎการลดลงของผลได้ (Laws of Diminishing Returns ) .... ในการผลิตที่ใช้ทั้งปัจจัยคงที่และปัจจัยผันแปร เมื่อผู้ผลิตเพิ่มการใช้ปัจจัยผันแปรขึ้น จะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น ต่อมาจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง และลดลงในที่สุด TP C B TP A L L 1 1
TP C B TP A X 1 1 กฎการลดลงของผลได้ (Laws of Diminishing Returns )
ความสัมพันธ์ระหว่าง TP AP MP • MP > 0 และเพิ่มขึ้น TP จะเพิ่มในอัตราที่เพิ่มขึ้น • MP > 0 และลดลง TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง • MP < 0 TP จะลดลง • ดังนั้น MP = 0 TP is maximum • MP > AP AP จะเพิ่มขึ้น • MP < AP AP จะลดลง • ดังนั้น MP = AP AP is maximum TP Stage II Stage III Stage I TP AP L c MP a b
TP X TP X Stage II Stage I i h g j TP k f ความสัมพันธ์ระหว่างTP และ AP o a c b e d AP a c b
ขั้นของอัตราการเปลี่ยนแปลงผลผลิต Three stage of Production TP Stage II Stage III Stage I TP AP X c MP a b
2.2 มุมมองในการผลิตระยะยาว - การผลิตที่เปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ (มีแต่ปัจจัยผันแปร) 2.2.1 เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquantline) K 2.2.2 เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocostline) 5a .... เส้นแสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของสัดส่วนการใช้ปัจจัยการผลิตสองชนิดที่ให้ผลผลิตเท่ากัน Iq=10 1 b L 3 6
ลักษณะของเส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquantline) K • เส้นที่สูงกว่าจะแสดงผลผลิตจำนวนที่มากกว่า • เป็นเส้นต่อเนื่องลาดลงจากซ้ายมาขวา (continuously slope downward from the left to the right) • ไม่ตัดกัน (non-intersection) • เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด (convex to the origin) C B A L K a k3 c Iq2 k2 b Iq1 L k1
K Iq k A L B k’ l” l’ l อัตราสุดท้ายในการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน (MRTS) ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจาก การใช้ L ทดแทน K มีค่าเท่ากับ MRTSLK = kk/ / ll/ MRTSLK = MPL / MPK MRTSKL= ll// kk/ = MPK / MPL MRTSLK = ค่าความชันของเส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant line) C k”
K Iq L กฎการลดลงของอัตราสุดท้ายในการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน(Laws of Diminishing Marginal Rate of Technical Substitution) .... เมื่อผู้ผลิตใช้ปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นเพื่อทดแทนปัจจัยอีกชนิดหนึ่ง ในการผลิตผลผลิตจำนวนเท่าเดิมความสามารถในการทดแทนกันของปัจจัยการผลิตจะลดลง k A k’ B C k” l’ l” l
B 2 1 A ลักษณะอื่นๆ ของเส้นผลผลิตเท่ากัน (Iq) B 2 1 A เส้นความผลผลิตเท่ากันของปัจจัยที่ใช้ประกอบกันอย่างสมบูรณ์(Perfect Complement) เส้นผลผลิตเท่ากันของปัจจัยที่ทดแทนกันอย่างสมบูรณ์(Perfect Substitution)
2.2.2 เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocostline) K .... เส้นแสดงสัดส่วนของปัจจัยการผลิตสองชนิดที่ผู้ผลิตสามารถซื้อได้ด้วยจำนวนเงินเท่ากัน a k1 Isocost b k2 L L1 L2
X2 O X1
K (1,000/200), (C/r) M Isocost N L O (1,000/100), (C/w) สัดส่วนของการใช้ปัจจัยการผลิต ณ ระดับงบประมาณเท่ากัน ความชันของเส้นต้นทุน OM/ON = (C/r) / (C/w) ความชัน = (w/r)