70 likes | 156 Views
Infrastructure. สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่ ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาลครูก. ในเขตภาคเหนือตอนบน.
E N D
Infrastructure สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่ ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาลครูก. ในเขตภาคเหนือตอนบน
หน่วยงานสนับสนุน (สคร.10 และสสจ. 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน) • ความสำเร็จ - มีการสนับสนุนด้านวิชาการ - มีการสร้างเครือข่ายระดับเขต / จังหวัด / โรงพยาบาล - มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต / จังหวัด -สนับสนุนด้านการพัฒนาคุณภาพบริการฯ - ผู้บริหารรับรู้และให้การสนับสนุนในการพัฒนาคุณภาพโดยรูปแบบ HIVQUAL-T - การประสานงานเป็นแบบไม่เป็นทางการ (โดยใช้สัมพันธภาพส่วนตัว) -พัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับโรงพยาบาล - มีแผนงานและการประสานที่ชัดเจน -มีผู้ประสานงานระดับเขตและจังหวัด
หน่วยงานสนับสนุน (สคร.10 และสสจ. 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน) (ต่อ) • โอกาสพัฒนา -เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน -เป็นพื้นที่ที่มีปัญหาความรุนแรงของโรคเอดส์ จึงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง -เป็นเขตนำร่องในการนำ HIVQUAL-T Model มาใช้ -จัดอบรมแก่บุคลากรใหม่ที่เข้ามารับผิดชอบงานพัฒนาคุณภาพฯ และรพ.ส่วนขยาย -มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานด้านการพัฒนาคุณภาพระดับจังหวัดและรพ. อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ -มีแหล่งสนับสนุนงบประมาณที่ชัดเจน (จากสปสช. และกรมควบคุมโรค ) -มีการสนับสนุนเชิงนโยบาย เช่นมีเวทีชี้แจงให้ผู้บริหารรับทราบ
หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) • จุดแข็ง - บุคลากรมีศักยภาพสูง มีความอดทน เสียสละ และรับผิดชอบ มีประสบการณ์ (เขี้ยวลากดิน) -ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน (บางแห่ง) - มีงบประมาณสนับสนุนต่อเนื่อง (อย่างเพียงพอ) - มีตัวชี้วัดติดตามการดำเนินงานชัดเจน -มีการสนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์ (คอมพิวเตอร์) ในการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพฯ - มีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการพัฒนาคุณภาพฯ ระหว่างโรงพยาบาล - มีแผนการดำเนินงานชัดเจน ต่อเนื่อง - มีการบูรณาการเข้ากับระบบปกติของหน่วยงาน -มีทีมทำงานที่เป็นสหวิชาชีพที่เข้มแข้ง - มีการประสานงานของทีมบุคลากรโรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ
หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) - ต่อ - • จุดอ่อน - โปรแกรมปรับเปลี่ยนหลาย Version - มีการปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่และผู้ที่ประสานงานในโรงพยาบาลบ่อยครั้ง - ขาดการสื่อสารในการส่งต่องาน (กรณีมีการปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่บางหน่วยงานในรพ.) - Work load และขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน ทำให้เกิดภาวะหมดไฟ - มีข้อจำกัดและเงื่อนไขในการใช้งบประมาณทำให้ไม่สามารถใช้ได้สะดวก
หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) - ต่อ - • ปัญหาและอุปสรรค -งบประมาณล่าช้า (นโยบาย) - ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญและไม่ให้การสนับสนุน (บางแห่ง) - ขั้นตอนรวบรวมข้อมูลมีหลายขั้นตอนและใช้เวลา พร้อมทั้งต้องประสานงานกับหลายฝ่าย -ขาดเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับลงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (เฉพาะโปรแกรม HIVQUAL-T)
หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) - ต่อ - • โอกาสพัฒนา - เห็นตัวชี้วัดที่ชัดเจนนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพฯ ได้ตรงประเด็น - ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกพื้นที่ - ได้รับงบประมาณในการประเมินและวัดผลด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T อย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอ - สร้างบุคลากรที่สามารถทำงานทดแทนกันได้ (หลาย ๆ คน) - ผลการประเมินด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T ใช้เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง และเป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาความดีความชอบ - มีการ Update ความรู้ใหม่ ทุกปี