380 likes | 638 Views
Wrapped up. บทเรียน และ สาระจากการประชุมวันวาน. บทสรุป. Concepts and shifting of paradigms. กู้ชีพทีมแรกต้องไม่ด่วนเข้าช่วยเหลือผู้ป่วย จะต้องกำหนดพื้นที่ในการปฏิบัติงาน ต้องนำคนเจ็บมารวมกันที่หน่วยรักษาพยาบาล ต้องคัดกรองก่อนให้การช่วยเหลือและการเคลื่อนย้าย
E N D
Wrapped up บทเรียน และ สาระจากการประชุมวันวาน
Concepts and shifting of paradigms • กู้ชีพทีมแรกต้องไม่ด่วนเข้าช่วยเหลือผู้ป่วย • จะต้องกำหนดพื้นที่ในการปฏิบัติงาน • ต้องนำคนเจ็บมารวมกันที่หน่วยรักษาพยาบาล • ต้องคัดกรองก่อนให้การช่วยเหลือและการเคลื่อนย้าย • ต้องกำหนดให้มีผู้ทำหน้าที่ field commander อย่างชัดเจน • ต้องมีข้อมูลเพื่อการกระจายคนไข้ยังโรงพยาบาลเครือข่ายที่เหมาะสม • ผู้บริหารระดับสูงสามารถบัญชาการจากศูนย์บัญชาการได้โดยไม่ต้องมา ณ ที่เกิดเหตุ โดยจะต้องยกระดับศูนย์สั่งการประจำจังหวัดให้เป็นศูนย์บัญชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ทีมงานทุกคนต้องมีความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอเชิงยุทธวิธี • แต่งตั้งผู้รับผิดชอบหลักในระดับจังหวัด • แต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัดและระดับเขต • ออกแบบโครงสร้างและจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ทั้งในระดับจังหวัดและในระดับเขต • นำเสนอแผนเพื่อขอความเห็นชอบและขอรับการสนับสนุนต่อผู้บริหารระดับจังหวัดและระดับเขต • สร้างความตระหนัก สร้างการรับรู้ สร้างความรู้ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ • จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น • ออกแบบระบบสั่งการที่ครอบคลุมเครือข่ายทุกระดับ • ออกแบบและพัฒนาระบบสื่อสารในสถานการณ์ภัยพิบัติ • นำระบบที่ออกแบบมาใช้ในชีวิตประจำวัน • มีแผนประจำในการฝึกซ้อมรับสถานการณ์
โครงสร้างการอำนวยการด้านการแพทย์(ก่อนเกิดเหตุ)โครงสร้างการอำนวยการด้านการแพทย์(ก่อนเกิดเหตุ) ผู้ประสานงาน ฝ่ายเตรียมการ ฝ่ายฝึกอบรม ฝ่ายวัสดุอุปกรณ์
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
โครงสร้างการปฏิบัติงานในสถานการณ์โครงสร้างการปฏิบัติงานในสถานการณ์ ณ จุดเกิดเหตุ พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานคัดกรอง จนท.หน่วยรักษาพยาบาล พนง.ประจำลานจอดรถ พยาบาลนำผู้ป่วยขึ้นรถ.. พนง.ควบคุมการจราจร
PRINCIPLES for Management เกี่ยวข้องกับทั้ง 3 Phase ของ Major Incident Preparedness P-E-T Response Recovery Reconstruct. Rehabilitation METHANE Equipment Training Plan C-S-C-A-T-T-T Command Control Capacity Protection Identification Medical Communication 1 Command and Control 2Safety 3 Communication 4 Assessment 5 Triage 6 Treatment 7 Transport Education Exercise MIMMS
MIMMS นุ่งผ้า แบบ Japan Incident Command System พรบ. ปภ / พรบ. กพฉ. MIMMS เครือข่ายกู้ภัย/ดับเพลิง/ตำรวจ อาสาสมัคร PET SRRT สืบสวน/ควบคุม การชันสูตร การรักษาพยาบาล ในโรงพยาบาล Rehab. & Reconstruction
การร่วมประเมินและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสหสาขาหลังการการร่วมประเมินและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสหสาขาหลังการ Focal Point EMS รองผู้ว่า ท้องถิ่น ปภ. สสจ. ผอก. SRRT PHER หมอดมยา Army & Air force & Police
กรอบบุคลากร ณ จุดเกิดเหตุที่จำเป็น • หัวหน้าทีมกู้ชีพ พยาบาล • พนักงานสื่อสาร EMT • (พนักงานรักษาความปลอดภัย) • หัวหน้าทีมคัดกรอง FR • พนักงานคัดกรอง • เจ้าหน้าที่หน่วยรักษาพยาบาล EMT • พนักงานประจำลานจอดรถ FR • พนักงานนำส่งผู้ป่วยขึ้นรถพยาบาล FR • (พนักงานประจำหน่วยสนับสนุนอุปกรณ์) ต้องใช้คนทั้งสิ้น 5-6 คน เป็นอย่างน้อย ไม่รวมทีมนำส่งผู้ป่วย
กรอบโครงสร้างด้านพื้นที่ในการปฏิบัติงาน • จุดปฏิบัติการชั้นใน inner cordon (bronze officer) จุดคัดกรอง • จุดปฏิบัติการชั้นนอก outer cordon(silver officer) จุดรักษาพยาบาล casualty clearing station ศูนย์ประสานงาน JSEC (joint service emergency control center) จุดจอดรถพยาบาล ambulance parking point • จุดบัญชาการ ณ ศูนย์สั่งการ(gold officer)
rest centre IN SILVER ICP media liaison point 2 3 BRONZE 1 CCS SRC JSEC HLS ambulance loading ambulance parking OUT
กรอบการเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์กรอบการเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์ equipments รถ ambulanceแต่ละคันต้องมีอะไร อุปกรณ์ของ commander อุปกรณ์ของ triage officer อุปกรณ์ของ ทีมรักษาพยาบาล อุปกรณ์พื้นฐานด้านความปลอดภัย
กรอบการพัฒนาบุคลากร • สร้างครู ก ในระดับจังหวัด • สร้างหลักสูตรและจัดเตรียมสื่อ-อุปกรณ์การเรียนการสอน • อบรมทีม ครู ก • อบรมทีมแพทย์ พยาบาล ที่ต้องรับผิดชอบเป็น field commander100% • อบรมทีม กู้ชีพระดับตำบล 100%
กรอบการออกแบบเพื่อทำแผนซ้อมรับสถานการณ์กรอบการออกแบบเพื่อทำแผนซ้อมรับสถานการณ์ MULTIAGENCY + CASUALTIES HEALTH SERVICE EXERCISE TABLE TOP PEWC RADIO TRIAGE DECON MIMMS PRINCIPLES
กรอบด้านภารกิจ 1. ภารกิจของทีมกู้ชีพชุดแรกที่เข้าถึงจุดเกิดเหตุ • ประเมินสถานการณ์ • แบ่งหน้าที่ • คนที่ 1 - ปิดกั้นรถจราจร ก่อนที่ตำรวจจะมาถึง • คนที่ 2 - จัดเตรียมพื้นที่เพื่อการปฏิบัติการเป็น 3 ส่วน • - พื้นที่สำหรับรถพยาบาล • - พื้นที่ในการคัดกรองและช่วยเหลือผู้ป่วย • - จุดบัญชาการ • อุปกรณ์ • แถบสะท้อนแสงเพื่อกั้นบริเวณ • ธงสัญลักษณ์ในการกำหนดพื้นที่ช่วยเหลือผู้ป่วย
คนที่ 3 - หัวหน้าทีม - ทำหน้าที่ Commander ในขณะนั้น - ตั้งจุดบัญชาการ - แจ้งข่าว, รายงานสถานการณ์, ขอความช่วยเหลือ * METHANE ทีมที่เหลือ – คัดกรองเบื้องต้น - ลำเลียงผู้ป่วยออกจากจุดที่เกิดเหตุมาพื้นที่ที่เตรียมไว้ สำหรับ การคัดกรองครั้งที่สองและช่วยเหลือผู้ป่วย * โดยที่ไม่ควรเร่งเข้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยหรือเร่งนำส่งโรงพยาบาล เพราะจะทำให้ เสียโอกาสในการเตรียมพื้นที่ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติการในช่วงเวลาต่อมา
ถ้าเป็นรถ FR ประเมินสถานการณ์ ปิดกั้นบริเวณที่เกิดเหตุเป็นเขตชั้นในและเขตชั้นนอก ควบคุมการจราจร แจ้งข่าวขอรับการสนับสนุน เตรียมจุดรักษาพยาบาล ปฏิบัติการเป็นทีมภายใต้การดูแลของหัวหน้าทีมกู้ชีพที่เดินทางมาถึงในภายหลัง ลำเลียงผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุเมื่อหน่วยกู้ชีพอื่นๆ เดินทางมาถึงจุดเกิดเหตุ
ถ้าเป็นรถ advance พยาบาลเป็นหัวหน้าทีมกู้ชีพ แจ้งข่าวขอรับการสนับสนุน เตรียมจุดรักษาพยาบาล มอบหมายภารกิจให้ทีมงานที่ทยอยตามกันมา EMT I , EMT B ปิดกั้นบริเวณที่เกิดเหตุเป็นเขตชั้นใน เขตชั้นนอ ควบคุมการจราจร เข้าปฏิบัติการเป็นหัวหน้าทีมคัดกรองเมื่อมีหน่วยสนับสนุนตามมา
2. ภารกิจของทีมกู้ชีพที่เข้าถึงจุดเกิดเหตุในลำดับต่อมา • จะต้องมารายงาน ณ จุดบัญชาการ • ผู้ที่อาวุโสที่สุดในสถานการณ์ จะต้องเข้ามารับช่วงในการบัญชาการ • ทีมที่มาถึงทีหลังหากมีหัวหน้าที่อาวุโสกว่า จะต้องรับหน้าที่ในการ • บัญชาการต่อจากผู้บัญชาการเดิม • ทีมงานที่เหลือแยกย้ายกันออกปฏิบัติการตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้ • บัญชาการ • พนักงานขับรถนำรถออกไปจอดในพื้นที่ที่เตรียมไว้ โดยที่รถพยาบาล • ที่มีประสิทธิภาพสูงควรจะขึ้นมาจอดในคิวต้น ๆ เพื่อคอยรับผู้ป่วยหนัก • ส่งโรงพยาบาลก่อน
3. ภารกิจของ Commander • ประสานงานการกระจายกำลังทีมกู้ชีพให้ปฏิบัติการ ณ Zone ต่าง ๆ • สั่งการ การจัดลำดับคิวรถพยาบาลเพื่อเตรียมเข้ารับผู้ป่วย • แจ้งข่าวขอกำลังสนับสนุนจากเครือข่าย • สั่งการ การนำผู้ป่วยกระจายไปยังโรงพยาบาลต่าง ๆ โดยมีผังงานกำกับ • ประสานงานโรงพยาบาลให้จัดกำลังสนับสนุนเพิ่มเติม หากทีมงานชุดแรก • ยังไม่เพียงพอ • 6. ประสานงาน ทีม กู้ภัย – ตำรวจ หรือองค์กรอื่น ๆ
อะไรบ้างที่ประยุกต์เข้ากับการปฏิบัติในชีวิตประจำวันอะไรบ้างที่ประยุกต์เข้ากับการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน • ใช้ triage tag ขณะออกเหตุประจำวัน • รายงานเหตุประจำวันด้วยรหัส methane • เรียกทีมงานโดยใช้นามเรียกขานสากล…ในชีวิตประจำวัน • ใช้วิทยุสื่อสารจนคุ้นเคย • ใช้ bag pack ในการออกเหตุ • ฝึกฝนให้มีคนทำหน้าที่ commander จนเก่ง ได้ทุกอำเภอ โดยมี job action sheet • อบรม ทีม ทุกคน ทุกระดับ ให้รู้งาน รู้หน้าที่ • Table top exercise ทุกอาทิตย์ ทุกแห่ง • Practice exercise with casualty ทุกเดือน ทุกแห่ง
เมื่อไรหรือสถานการณ์อย่างไร ที่เราจะ triage คนไข้เป็นสีน้ำเงิน depend • อย่างไรเป็น disaster อย่างไรเป็น mass casualty depend • ในใบ triage ถ้าเราทำตาม แนวทาง จะไม่มีสีน้ำเงิน depend • จะมี forum อะไร ในอนาคตให้เราได้พบกัน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ หรือสอบถามกัน
สิ่งที่ผนวกเข้ามาในการฝึกซ้อมครั้งต่อไปจากการระดมสมองวันนี้สิ่งที่ผนวกเข้ามาในการฝึกซ้อมครั้งต่อไปจากการระดมสมองวันนี้ • ศูนย์สั่งการมี role อะไร ที่มากมายที่ควรผนวกเข้ามาในการฝึกซ้อม • Loading officer เราไม่ค่อยเอาเข้ามาในแผนการฝึกซ้อมเมื่อก่อน • การออกแบบระบบการสื่อสารสั่งการในสถานการณ์ การแจ้งและรายงานสถานการณ์ มายัง ccc • Job action card สำหรับตัวแสดงทุกตัว • กติกามารยาทต่างๆในสถานการณ์ • focus ที่ commander มารายงานตัว เมื่อแรกมาถึง รายงานตัวเมื่อเสร็จภารกิจ จริงๆแล้ว liaison officerมีความสำคัญ