930 likes | 1.25k Views
ยินดีต้อนรับ...น้องใหม่...ทุกท่าน. มาผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่ง. ในองค์กรคุณภาพแห่งนี้. ( Human Resource Development & Education Committee). โรงพยาบาลยะหริ่งกับ…. ….Learning Organization ( LO). HRD Committee. ( Human Resource Development & Education Committee).
E N D
ยินดีต้อนรับ...น้องใหม่...ทุกท่านยินดีต้อนรับ...น้องใหม่...ทุกท่าน มาผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่ง ในองค์กรคุณภาพแห่งนี้ (Human Resource Development & Education Committee)
โรงพยาบาลยะหริ่งกับ…. ….Learning Organization (LO) HRD Committee (Human Resource Development & Education Committee)
ปัญญาก็เหมือนมีด ต้องลับบ่อยถึงจะคม • ถ้าเราไม่อ่าน ไม่คิด ไม่ถกเถียงอภิปรายกัน • ปัญญาก็จะทื่อไป • ทำให้เราฉลาดลดลงกว่าศักยภาพที่แท้จริงของเรา • ความนำใน “Quotations on Learning and Self Development”วิทยากร เชียงกูล ศูนย์วิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ ม.รังสิต
คนเราใช้ศักยภาพในชีวิตของตนเองแค่ 10% • ท่านไม่ได้เป็นในสิ่งที่ท่านเป็น แต่ท่านเป็นในสิ่งที่ท่านเชื่อ
อารัมภบท เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก้าวสู่ยุคเศรษฐกิจที่เน้นองค์ความรู้ (Knowledge Economy) องค์กรต่างๆ เผชิญภาวการณ์แข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ้น และเพื่อความอยู่รอด ขององค์กร ทำให้องค์กรต้องเริ่มหันมาตระหนักถึง ความสำคัญในเรื่องของ “การบริหารจัดการคนในองค์กร” มากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างคนในองค์กรให้สร้างคุณค่า (Value Creation) และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ให้กับองค์กร กพ
คน เป็น ทรัพย์สิน (Asset)มีสภาพเป็นทุน(Human Capital) สำคัญต่อการบริหารและการสร้างคุณค่า (Value Creation) ให้กับองค์กร
รู้อะไร Knowledge Skill ทำอะไรได้ เป็นคนอย่างไรในสังคม Social Role Self-image Trait Motive รับรู้ว่าตนเองเป็นคนอย่างไร มีบุคลิกลักษณะอุปนิสัยอย่างไร อะไรเป็นสิ่งที่ผลักดันให้แสดงพฤติกรรม David McClelland
การประเมินบุคลากร Performance(ผลการปฏิบัติงาน) Competency(สมรรถนะ) 70 % 30 %
การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรมการยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
LO : Learning Organization องค์กร (Organ)or องค์การ (Organization) องค์กร = ส่วนประกอบย่อยของหน่วยใหญ่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกันและกัน องค์การ = ศูนย์กลางของกิจกรรมที่รวมประกอบกันขึ้นเป็นหน่วย องค์กร ๆๆๆๆๆๆ รวมกัน เป็นองค์การ
LO คือที่ซึ่ง • สามารถขยายศักยภาพ (Capacity) สร้างผลลัพธ์ ต่อเนื่อง • รูปแบบความคิด (Pattern of Thinking)แบบใหม่และกว้างขวางได้รับการส่งเสริม • ความทะเยอทะยานร่วมของทุกคน (Collective Aspiration)ได้รับการยอมรับ • คนเรียนรู้ที่จะเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นต่อเนื่อง
LO คือที่ซึ่ง • มีบรรยากาศแห่งความไว้วางใจ (Trust) • มีสัมพันธภาพภายใน (Relationship) ที่ดี • มีการยอมรับซึ่งกันและกัน (Acceptance) ของสมาชิก • มีความสอดคล้องและกลมกลืน (Synergy) • สามารถสร้างผลลัพธ์ที่นำมาซึ่งความสำเร็จได้ • ปัจจัยและความสำเร็จเกิดจากการพัฒนาความรู้ที่จำเป็นสำหรับการทำงานของทีมอย่างต่อเนื่อง
ถ้าท่านอยู่ในองค์กรที่มีภาพเช่นนี้ท่านจะรู้สึกอย่างไรถ้าท่านอยู่ในองค์กรที่มีภาพเช่นนี้ท่านจะรู้สึกอย่างไร
LO คืออะไร • เป็นองค์การที่ซึ่งคนในองค์การได้ขยายขอบเขตความสามารถของตนอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับบุคคล กลุ่ม และองค์การ เพื่อนำไปสู่จุดหมายที่บุคคลในระดับต่าง ๆ ต้องการอย่างแท้จริง เป็นองค์การที่ความคิดใหม่ ๆ และการแตกแขนงของความคิด ได้รับการยอมรับ เอาใจใส่ และเป็นองค์การที่ซึ่งบุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในเรื่องของวิธีการที่จะเรียนรู้ไปด้วยกันทั้งองค์การ • PeterM. Senge “The fifth Discipline”
LO คืออะไร • เป็นการกระทำอย่างจงใจขององค์การ ที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านการเรียนรู้ในลักษณะที่เป็นการแบบริเริ่มสร้างสรรค์ และการเรียนรู้ในลักษณะของการปรับประยุกต์อย่างเหมาะสม • Nancy M. Dixon The George Washington University
LO คืออะไร • เป็นกระบวนการตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเสมอ ๆ ในองค์การ ลดทอนสิ่งที่ผู้คนแสดงออกเป็นนิสัยเพื่อปกป้องหรือแก้ตัว • Chris Argyris 1978
สรุป LO คือ • ตรวจสอบ แก้ไข ข้อผิดพลาด • เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง • สร้างทุนทางปัญญา • สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ • แปลความคิดสู่การปฏิบัติให้เร็วที่สุด
กว่าจะเป็น Learning Organization Empowerment Benchmarking 5ส. Downsizing Paradigm Shift ISO TQM Reengineering
พัฒนาการของการบริหารที่ต้องเกิดในอนาคตอันใกล้พัฒนาการของการบริหารที่ต้องเกิดในอนาคตอันใกล้ • เน้นความยืดหยุ่น รับมือกับสิ่งที่เกิดแบบไม่คาดฝัน และไม่ชัดเจนได้ • เน้นการพัฒนาบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมให้พนักงานมีหลักการของตนเอง • แก้ปัญหาด้วยการร่วมมือกัน • สร้างทีมที่ทำงานได้หลายด้านและต้องพึ่งพาซึ่งกัน
Benchmarking • กระบวนการที่องค์กรพยายามที่จะกระตุ้นการทำงานของตนให้ดีขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากความสำเร็จของผู้อื่น • เปรียบเทียบภายใน • เปรียบเทียบกับคู่แข่ง • เปรียบเทียบกับองค์กรในกลุ่มเดียวกัน • เปรียบเทียบกับองค์กรที่อยู่คนละธุรกิจ/คนละกลุ่ม
สิ่งที่จะได้จาก Benchmarking • Where are we now ? • Where do we want to get to ? • How do we get there ?
กฎ 5 ข้อสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้(Five Disciplines for Building a Learning Organization)
กฎข้อที่ 1 • Personal Mastery • ความรอบรู้แห่งตน(คนเรียน=องค์กรเรียน, เป็นนาย, กระตือรือร้น, ปรารถนาที่จะเรียนรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพ) • ทักษะในการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
กฎข้อที่ 2 • Mental Model • แบบแผนความคิดอ่าน(รูปแบบวิธีคิด/มุมมอง, แบบแผนจิตสำนึกของคนในองค์กร วุฒิภาวะ----พลังความคิดสร้างสรรค์/การบริหารโอกาส และการพัฒนาองค์กร คือ รูปธรรมของ Mental Model) • โลกทัศน์ หรือภาพสมมติฐาน หรือเรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวเรา บุคคลอื่น และความเป็นไปของโลกที่ฝังลึกอยู่ในใจเรา
กฎข้อที่ 3 • Shared Vision Building • การสร้างวิสัยทัศน์หรือสำนึกของความมุ่งมั่นของกลุ่มด้วยการร่วมกันพัฒนาภาพอนาคตที่กลุ่มต้องการ จนได้ภาพที่มีรายละเอียดชัดเจนและเป็นภาพเดียวกันของทุก ๆ คน • มีการพัฒนาหลักการ (Principle) และวิธีปฏิบัติ (Guiding Practice) ที่จะนำกลุ่มให้บรรลุอนาคต
Gandhi ความเป็นประเทศเอกราช
การสร้าง Shared Vision • ทุกคนในองค์กรสามารถร่วมเปิดเผยความทะเยอทะยาน (Aspiration)ให้ผู้บริหารและผู้อื่นรับทราบ • เปิดกว้างให้โอกาสทุกคนเปิดเผยความต้องการของตนเต็มที่ • ได้รับการเอาใจใส่และความร่วมมือจากบุคคลทุกคน • เกิดจากการเปิดเผยและรับฟังเหตุผลและทัศนคติของกันและกัน (reflection & Conversation) ซึ่งทุกคนมีส่วนร่วม
กฎข้อที่ 4 • Team Learning • การเรียนรู้ของทีม • กลุ่มสามารถพัฒนาภูมิปัญญา (Intelligence) และความสามารถ (Ability) ของกลุ่มให้เกิดขึ้นมากกว่าผลรวมความสามารถของภูมิปัญญาและความสามารถของสมาชิกแต่ละคน • 1+1 ต้องได้มากกว่า 2
R&D (Research&Development)วิจัยและพัฒนา
ความแตกต่างระหว่าง Team Learning & Team Building • Team Building เพิ่มทักษะสมาชิกในทีม • Team Learning สร้าง Alignment (แนวร่วม) ในทีม • การทำหน้าที่ในลักษณะขององค์รวม (Functioning as a whole) • ทำให้กลุ่มทำหน้าที่สอดประสานเสมือนเป็นคน ๆ เดียว • ขยายความสามารถของทีมให้สามารถคิดและกระทำด้วยวิถีทางใหม่ที่สอดประสานกันดี (Synergistic Way) โดยมีการร่วมมือกันอย่างเต็มที่และมีจิตสำนึกของความเป็นเอกภาพ (Sense of Unity) ของสมาชิก
กลุ่ม VS ทีม • กลุ่ม(group) : • 2 คน up รวมเพื่อทำงานให้ได้ตาม obj. ไม่กำหนดขอบเขตความสัมพันธ์ ความสำเร็จในเป้าหมาย สำคัญ แต่ไม่ผูกพัน/สัมพันธ์ทางใจ • ทีม(team) : • กลุ่มคนทำงานร่วม มี Obj เดียวกัน • การรวมกันอาศัยความเข้าใจ ผูกพัน ร่วมมือกันและกัน จนประสบความสำเร็จและบรรลุเป้าหมายตาม Obj
กฎข้อที่ 5 • Systems Thinking • ความคิดเชิงระบบ • วิธีคิดและภาษาที่ใช้อธิบายและทำความเข้าใจปัจจัยต่าง ๆ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมของระบบ • ช่วยให้ทราบว่าจะเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร • หลักในการมองสิ่งต่าง ๆ ในลักษณะองค์รวม
System Thinking • มองเห็นภาพรวม • เห็นทั้งหมด • มองเห็นความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง • เห็นแนวโน้มรูปแบบความเปลี่ยนแปลง
10 Dimension of Systems Thinking • Critical Thinking (เชิงวิพากษ์)*** • การคิดเชิงวิเคราะห์ • การคิดเชิงเปรียบเทียบ • การคิดเชิงมโนทัศน์ • การคิดสร้างสรรค์ (ใหม่ ใช้งานได้ มีเหตุผล/เหมาะสม) • การคิดเชิงประยุกต์ • การคิดเชิงกลยุทธ์
10 Dimension of Systems Thinking • การคิดเชิงบูรณาการ • การคิดเชิงอนาคต
Critical Thinking • การวิพากษ์ = การพิจารณาตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยท้าทายโต้แย้งเหตุผลที่นำมากล่าวอ้าง เกิดขึ้นเนื่องจากความสงสัยและความไม่เชื่อข้ออ้างนั้นจะเป็นจริง นำไปสู่การพิสูจน์สมมติฐานนั้นอีกครั้งหนึ่ง • การวิจารณ์ = การให้คำตัดสินที่กำลังพิจารณา การตัดสินมักขึ้นอยู่กับความรู้สึกของผู้วิจารณ์เป็นสำคัญ
Critical Thinking • ความตั้งใจที่จะพิจารณาตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยการไม่เห็นคล้อยตามข้ออ้างที่นำเสนอ แต่ตั้งคำถามท้าทาย หรือ โต้แย้งนั้นเพื่อเปิดแนวทางความคิดออกสู่ทางต่าง ๆ ที่แตกต่าง อันนำไปสู่การแสวงหาคำตอบที่สมเหตุสมผลมากกว่าข้ออ้างเดิม อย่าเพิ่งเชื่อ เผื่อใจไว้
การพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากษ์การพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ • “น่าจะ” มากกว่า “ทำไม” • “กว่า” หรือ “ที่สุด” ลอย ๆ ไม่มีตัวเทียบ ต้องวิพากษ์ว่าเทียบกับอะไร • “การกล่าวที่สร้างความรู้สึกน่าเชื่อถือ” = “ความจริง” หรือ “ความรู้สึก” • “ทั้งหมดเป็นเช่นนั้น” “ทุกอย่าง” “ทุกสิ่ง” = “อาจไม่เป็นทั้งหมดก็ได้ • “ข้ออ้างด่วนสรุป” = “อาจไม่ต้องด่วนสรุปก็ได้” • “ข้อสรุปจากสาเหตุเดียว” = ให้ใช้เทคนิคการมองภาพรวม • “การกล่าวอ้างด้านเดียว” = ใช้เทคนิคเหรียญสองด้าน • หากมีแนวโน้มว่าจะเชื่อตามนั้น…ให้ชะลอการตัดสินใจ…อย่าด่วนสรุป