70 likes | 417 Views
การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. นายแพทย์ธงชัย กีรติ หัตถ ยากร รองอธิบดี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน 255 6. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.
E N D
การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2556 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
บริหารจัดการดี ภาคีมีส่วนร่วม ปรับพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ใช้ ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ในกระบวนการพัฒนา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัด * อบรมวิทยากรพี่เลี้ยง 990 คน * อบรมพี่เลี้ยงนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกิดความตระหนักด้านสุขภาพของตนเอง ( รู้ว่าอยู่สีอะไร ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ อำเภอ * ประสานการดำเนินงาน 878 อำเภอ ลดเสี่ยง ลดโรค เกิดพฤติกรรมสร้างสุขภาพ สำนักสนับสนุนบริการสุขภาพเขต 12 เขต ตำบล * ตำบลจัดการสุขภาพ 2,634 ตำบล * อสม.นักจัดการสุขภาพ 50,000 คน * อสม.นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ หมู่บ้าน * พัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ร้อยละ 70 ของหมู่บ้านทั่วประเทศ * หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ * สนับสนุนชุดอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน ของ อสม. ทุกหมู่บ้าน 74,963 หมู่บ้าน บุคคล * อบรม อสม. เชี่ยวชาญ 200,000 คน * ความรอบรู้ด้านสุขภาพ * ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ “บริหารจัดการดี ภาคีมีส่วนร่วม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค” ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน เป็นรูปแบบวิธีการจัดการใหม่ ( New Approach & New Management ) ที่มีการนำศักยภาพ ภูมิปัญญา และการรวมพลังของชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ มาบูรณาการให้เกิดทิศทางการทำงานที่บูรณาการและสอดคล้องกันของภาคส่วนต่างๆ ที่อยู่ในระดับตำบล
การดำเนินการ “ สู้เบาหวาน ความดัน” ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี โดย อสม. 1. อสม. สำรวจ ค้นหาและจัดทำทะเบียนประชาชนในความรับผิดชอบแยกเป็นรายกลุ่มอายุ • 2. จัดกิจกรรมการคัดกรองเพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้น • 2.1 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้น โดยใช้แบบสอบถามด้วยวาจา เพื่อคัดกรองและสอบถามเบื้องต้นใน 7 ประเด็น ได้แก่ • การดื่มสุรา การสูบบุหรี่และการใช้สารเสพติด การดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง การออกกำลังกาย การเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจร • การใช้ยาชุด สุขภาพจิต การรับประทานอาหาร (สุกๆดิบๆ รสหวาน มัน เค็ม ) • 2.2 ตรวจประเมินสุขภาพ พร้อมจดบันทึกข้อมูล โดย • การชั่งน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) วัดส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) วัดรอบเอว (หน่วยเป็นเซนติเมตร) • คำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยใช้ข้อมูลเรื่องน้ำหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ความสูง (เมตร) • การจับชีพจร และวัดความดันโลหิต โดยก่อนวัดต้องซักถามประวัติการเป็นความดัน • การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด 3. วิเคราะห์และแปรผลข้อมูลสุขภาพในข้อ 2 โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และจำแนกเป็น 4 กลุ่ม • จัดกิจกรรมป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง และร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ในการเฝ้าระวังและส่งต่อในกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน • กิจกรรมในชุมชนรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดย • ลด หวาน มัน เค็ม • เพิ่มผักผลไม้ • ออกกำลังกาย วันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน • งดเว้นอบายมุข เหล้า บุหรี่ • ทำจิตใจให้แจ่มใส ไม่เครียด • ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ • เฝ้าระวังโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน
องค์กรสร้างสุขภาพ ( Good Health Start Here) เกิดความตระหนักด้านสุขภาพของตนเอง ( รู้ว่าอยู่สีอะไร ) เกิดพฤติกรรมสร้างสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข สวัสดี