360 likes | 680 Views
GML (Geography Markup Language). นางสาว สุพัตรา ดินวงศ์ อาจารย์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์. GML (Geography Markup Language). Markup Language GML Sample Merits. Markup Language. XML( Extensible Markup Language )
E N D
GML(Geography Markup Language) นางสาว สุพัตรา ดินวงศ์ อาจารย์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
GML(Geography Markup Language) • Markup Language • GML • Sample • Merits
Markup Language • XML(Extensible Markup Language) เป็นฟอร์แมตที่อธิบายถึงรายละเอียดโครงสร้างและแบบของข้อมูลเป็นภาษาหรือชุดคำสั่งเกี่ยวกับข้อมูลบนเว็บ XML จะทำการจัดการข้อมูลหรือเรียกใช้ข้อมูลจาก application ต่างๆจะเข้าสู่มาตรฐานเดียวกัน XML ทำให้ผู้ใช้สามารถสร้างและดูแลเอกสารที่มีโครงสร้าง( structured document ) ที่บรรจุตัวอักษร( plain text ) โดยทำให้สามารถ rendered หรือปรับเปลี่ยนการแสดงผลในรูปแบบที่หลากหลาย จุดประสงค์หลักของ XML คือ “ การแยกส่วนข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการแสดงผล ”
Markup Language • SVG( Scalable Vector Graphics ) SVG เป็นภาษาหนึ่งของ XML ที่สร้างขึ้นเพื่อกำหนดลักษณะการแสดงผลในรูปแบบสองมิติ SVG มีสองส่วน คือ ส่วนที่เป็น XML-based file format และส่วน programming API สำหรับ graphical application
GML • GML( Geography Markup Language ) ภาษา GML เป็นรูปแบบหนึ่งของเอกสาร XML ที่ถูกออกแบบขึ้นเพื่อการจัดเก็บและการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ • GML Basic Concepts -Geometries คือ องค์ประกอบของการสร้างภาพ - Propertiesเช่น name, type
Encoding Geometry สิ่งที่สำคัญที่สุดในมาตรฐานของการแปลงข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ คือความสามารถในการแสดงรูปร่างทางเรขาคณิต • GML Feature Collections จุด (point), เสน (LineString), วงแหวน (LinearRing), รูปหลายเหลี่ยม (Polygons) • GML Application Schema Annotations, Simple Type, Complex Type, Element, Attribute
GML Feature Collections • Point
GML Feature Collections • LineString
GML Feature Collections • LineString
GML Feature Collections • Polygons
GML Feature Collections • Polygons
GML • ขั้นตอนการสร้างเอกสาร GML
GML ตัวอย่างฐานข้อมูล
GML • ขั้นตอนการสร้างเอกสาร GML 1. ประกาศ Name Space
GML 2. เป็นส่วนที่จะกำหนดขอบเขตของข้อมูลแผนที่ <gml:coordinates>( Xmin, Ymin, Xmax, Ymax ) </gml:coordinates>
GML 3. อ่านข้อมูลทั้งหมด ทั้ง Spatial Data และ Non-spatial Data และนำข้อมูลเหล่านั้นมาใสใน tagที่สร้างไวโดยเรียงลำดับจากคอลัมน์ในฐานข้อมูล เช่น ตาราง engineering_building มีจำนวนคอลัมน์ทั้งหมด 3 คอลัมน์ คือ id, name, the_geom ซึ่งเราจะนำมาเป็นข้อมูลใน Element <engineering_building.gid> <engineering_building.name> <engineering_building.the_geom>
Sample • เนื่องจาก GML และ SVG ต่างสร้างขึ้นมาจากมาตรฐาน XML ดังนั้นทั้งรูปแบบการอ่านและการเขียนจึงเป็นไปในแบบเดียวกัน อีกทั้งสามารถแปลงโครงสร้างข้อมูลจาก GML ไปเป็น SVG ได้โดยใช้ XSLT (XSL Transformations, XSL: Extensible Stylesheet Language) XML DATABASE GML XSLT SVG
Sample • ตัวอย่างการแปลงเอกสารภาษา GML ให้อยู่ในรูปของภาษา SVG 1. การกำหนดขอบเขตของข้อมูล • ทำการอ่านค่าต่างๆใน Tag<gml:coordinates> <gml:coordinates>Xmin,Ymin Xmax,Ymax</gml:coordinates> • คำนวณค่าความกว้างของขอบเขตโดยนำค่า Xmax – Xmin : width • คำนวณค่าความยาวของขอบเขตโดยนำค่า Ymax – Ymin : height • ใส่ค่าขอบเขตต่างๆ Element <svg viewBox=“Xmin Xmax คาความกว้าง คาความยาว”>
Sample เอกสารภาษา GML Xmin Ymin Ymax Xmax
Sample Tag SVG Xmax Xmin ค่าความกว้าง ค่าความยาว
Sample 2. ตรวจสอบว่ามีข้อมูลแบบใดบ้าง แล้วเรียกฟังก์ชั่นสร้าง • จุด (buildPoint) • เส้น (buildLine) • โพลีกอน (buildPolygon)
ข้อดี (Merits) • ข้อดีในการเลือกใช้ภาษา GML ในการแสดงแผนที่ 1. ไดแผนที่ที่มีคุณภาพดีกว่าเนื่องจาก GML สามารถจะนำไปแสดงผลใน รูปแบบที่ไมจำกัดความ ละเอียดในการแสดงผล 2. สามารถใช้งานไดบน Browser โดยไมตองซื้อโปรแกรมที่ใช้แสดงผลทาง ฝั่ง Client 3. สามารถสร้างแผนที่ ที่มีรูปแบบเฉพาะได้ 4. สามารถทำการแกไขแผนที่ได
ข้อดี (Merits) • ข้อดีในการเลือกใช้ภาษา GML ในการแสดงแผนที่ 5. สามารถเชื่อมโยง link ไปยังลงในแผนที่ได้ 6. ทำการ query ไดดียิ่งขึ้น 7. สามารถกำหนดเนื้อหาที่ต้องการแสดงหรือต้องการไดรับ 8. สามารถแสดงผลไดบนทุกอุปกรณ์ที่ใช้ Browser ได้