680 likes | 875 Views
กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM/Pre-HT. พฤติกรรมสี่ยง. กลุ่มปกติ. - FCG 100 - 125 - BP 120/80 – 139/89. ป่วย. - ภาวะอ้วน (BMI 25 กก./ม.2) - การดื่มสุรา สูบบุหรี่ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม ออกกำลังกายน้อย. - FCG < 100 - BP < 120/80. - FCG ,FPG > 126 - BP > 140/90. พิการ.
E N D
กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM/Pre-HT พฤติกรรมสี่ยง กลุ่มปกติ - FCG 100 - 125 - BP 120/80 – 139/89 ป่วย • -ภาวะอ้วน (BMI 25 กก./ม.2) • - การดื่มสุรา สูบบุหรี่ • การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม • ออกกำลังกายน้อย - FCG < 100 - BP < 120/80 - FCG ,FPG > 126 - BP >140/90 พิการ ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • - ตา • - ไต • เท้า • สมอง • หัวใจ กรอบแนวคิดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เป้าหมายการดำเนินงาน ปรับพฤติกรรม 3อ. + 2ส. 1. ลดป่วย ลดพฤติกรรมเสี่ยง หมู่บ้านต้นแบบ (SRM) 2. ควบคุมโรค (good control) ลดพิการ ลดภาวะแทรกซ้อน คุณภาพชีวิตที่ดี
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวโรกาส ทรงเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา 2. เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน ตลอดจนกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ ตนเอง 3. เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกและบริการที่เหมาะสมแก่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ( ลดป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย ) 4. เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น 5. เพื่อให้มีระบบเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยง
ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ ระดับกิจกรรม ระดับผลผลิต • จัดระบบบริการสุขภาพเชิงรุก เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง • จำนวนหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อำเภอละ 1 หมู่บ้าน/ชุมชน • ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนด • ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวาน • ไม่เกินร้อยละ 5 • อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ 3
กลยุทธ์ / มาตรการ 1. มาตรการหลัก 2. มาตรการสนับสนุน 1.1 การพัฒนาระบบบริการ (Individual approach) ก. การตรวจสุขภาพเชิงรุก ข. การให้บริการในสถานบริการ 1.2 การพัฒนาศักยภาพชุมชน (Community approach) โดยใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์: SRM ( Strategic Route Map ) 2.1 การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ 2.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชน และทำคู่มือต่างๆ 2.3 การจัดระบบการติดตามประเมินผล เช่น NCD Board 2.4 การจัดระบบฐานข้อมูล
ตรวจคัดกรอง SRM
1. Approachกลุ่มประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • FCG 100 - 125 • BP 120/80 – 139/89 • FPG > 126 • BP >140/90 • ตา • ไต • เท้า • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. เข้มข้น • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC • รักษาดู HbA1C • ค้นหาภาวะแทรกซ้อน • ถ่ายภาพจอประสาทตา • microalbuminuria • ตรวจเท้า • รักษาโรคและ • ภาวะแทรกซ้อน 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มปกติ • FCG < 100 • BP < 120/80 3อ. 2ส.
2. Community approach การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กระบวนการ ขั้นตอนที่สำคัญของการสร้างและการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) คือ “ สร้าง 3 ขั้นตอน ” “ ใช้ 4 ขั้นตอน ” รวมทั้งสิ้น 7 ขั้นตอน
การดำเนินงานในชุมชนที่ส่งผลต่อการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานการดำเนินงานในชุมชนที่ส่งผลต่อการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงมีหลายรูปแบบ โดยหน่วยงานต่างๆ ประกอบด้วย กรมอนามัย องค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ กรมควบคุมโรค ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพลดโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เกณฑ์การดำเนินงานหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ • มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) ในการดำเนินงานหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ • มีระบบข้อมูลในการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของชุมชน • มีการดำเนินกิจกรรมโดยชุมชนเพื่อสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่ การดำเนินกิจกรรม ๓อ ๒ส การจัดการสิ่งแวดล้อม การมีนโยบายท้องถิ่น/พันธะสัญญา ที่เอื้อต่อสุขภาพ
เกณฑ์การดำเนินงานหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ๔) ผลผลิตและผลลัพธ์การดำเนินงาน • ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ • ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น • ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป เพศชาย ที่มีรอบเอวน้อยกว่า ๙๐ ซม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ • ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป เพศหญิง ที่มีรอบเอวน้อยกว่า ๘๐ ซม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ • ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ ๕
3. การสนับสนุนในการดำเนินงาน • มีคณะกรรมการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCD Board ) • การจัดทำระบบข้อมูล • 3. การประชาสัมพันธ์โครงการฯ • การอบรมและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ • การพัฒนาคลินิก DPAC เช่น ใน รพ.สต.
ตรวจราชการแบบเร่งด่วนตรวจราชการแบบเร่งด่วน
รหัสตัวชี้วัด : ๐๑๐๑ • จังหวัดมีผลการดำเนินโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ในระดับดีมากถึงดีเยี่ยม ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน กระบวนการดำเนินงาน ผลผลิตการดำเนินงาน ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน
ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน ๑.๑ NCD Board มีการบริหารจัดการและมีการประชุมเดือนละ ๑ ครั้ง ๑.๒ มีแผนงานโครงการของจังหวัดที่สอดคล้องกับ แนวทางการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ๑.๓ มีระบบข้อมูลในการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑.๔ มีแผนการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
กระบวนการดำเนินงาน ๒.๑ มีการตรวจสุขภาพเชิงรุก ๒.๒ มีการคัดกรองประชาชน แบ่งกลุ่มเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ๒.๓ มีการจัดตั้งคลินิก DPAC เป้าหมายอย่างน้อย ๑ อำเภอ / ๑ รพ.สต. ๒.๔ มีการตรวจรักษาโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐานของ รพ.สต, รพช., รพท. และ รพศ. เพื่อการควบคุมโรคที่ดีตามเป้าหมาย (Good control) ๒.๕ มีการค้นหาภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๒.๖ มีหมู่บ้าน / ชุมชน โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกตำบล
ผลผลิตการดำเนินงาน ๓.๑ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ๓.๒ มีหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ที่ดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน ๑ รพ.สต. / ๑ หมู่บ้าน (ชุมชน)
ผลลัพธ์ของการดำเนินงานผลลัพธ์ของการดำเนินงาน ๔.๑ pre-DM ปี ๒๕๕๓ ป่วยเป็น DM ปี ๒๕๕๔ ไม่เกินร้อยละ ๕ (หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี ๒๕๕๓ อย่างน้อยร้อยละ ๒) ๔.๒ อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วย DM ลดลง จากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี ๒๕๕๓ อย่างน้อยร้อยละ ๓ ๔.๓ อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วย HT ลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี ๒๕๕๓ อย่างน้อยร้อยละ ๓ (ข้อมูล ๔.๒ , ๔.๓ จากรง. ๕๐๕ ช่วงเดือนตุลา ๕๓ -กันยา ๕๔)
pre-DM ปี ๒๕๕๓ ป่วยเป็น DM ปี ๒๕๕๔ ไม่เกินร้อยละ ๕ A = ประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองในปี ๕๓ ว่าเป็น pre-DM และผลการติดตามในปี ๕๔ พบเป็น DM B = ประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองในปี ๕๓ ว่าเป็น pre-DM สูตรคำนวณ A * ๑๐๐ ถ้าตาม B ได้ไม่ครบ ให้ใช้ฐานจำนวน pre-DM ที่สามารถติดตามได้ในปี ๕๔ B
แก้ไขการคำนวณตัวชี้วัดแก้ไขการคำนวณตัวชี้วัด อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานลดลง ( slide แผ่นที่ 22 )
เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงในปี 2553 และ 2554 ค่าเป้าหมาย = อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ในปี 2554 ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 3 สูตรการคิดอัตราเพิ่มปี X= admission rate ปี X -admission rate ปี ( X-1 ) admission rate ปี ( X-1 ) X 100 หน่วยร้อยละ
แหล่งข้อมูล :- ใช้ฐานข้อมูลจาก รายงาน 505 ตามปีงบประมาณ เดือน ตค.-กย. ของแต่ละพื้นที่ สูตรคำนวณ ตัวอย่างเบาหวาน อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน ปี 2553 (หน่วย ร้อยละ) admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2553 – admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2552x 100 admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2552 = อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน ปี 2554 (หน่วย ร้อยละ) admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2554 – admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2553x 100 admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2553 =
ตัวอย่าง 780 -720 x 100 อัตราเพิ่ม.. ปี 2554 = 8.33 720 720 -650 x 100 = 10.76 อัตราเพิ่ม.. ปี 2553 650 อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานในปี 2554 ลดลงร้อยละ 2.43= ไม่ผ่านเกณฑ์
ตรวจราชการแบบบูรณาการตรวจราชการแบบบูรณาการ
นโยบายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯนโยบายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ ตรวจติดตาม:ภารกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และพื้นที่ โดยยึดประชาชนเป็นหลัก (เป็นไปตามระเบียบ สนร.) เน้น:ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ผลสัมฤทธิ์ ตามนโยบาย:รัฐบาล / ยุทธศาสตร์จังหวัด / กลุ่มจังหวัด / ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าประสงค์:หน่วยรับตรวจ มีการดูแลตนเองที่ดี เป็นไปตามหลักธรรมมาภิบาล สามารถลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ และบรรลุผลสำเร็จตามนโยบายรัฐบาล
ความหมายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯความหมายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ
ผลสัมฤทธิ์ของการตรวจราชการแบบบูรณาการฯผลสัมฤทธิ์ของการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ • หน่วยรับตรวจมีขีดสมรรถนะในการดำเนินงาน เพิ่มขึ้น สามารถลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้จนเกิดผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ • หน่วยรับตรวจมีระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง ตอบสนองต่อ นโยบายรัฐบาล และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
นโยบายการตรวจราชการฯ ตามมติคณะรัฐมนตรี ๑. ให้ ผตร.กระทรวง และ ผตร.สปน. นำข้อเสนอแนะใน รายงานผลการตรวจฯ ไปพิจารณาในส่วนที่เกี่ยวข้อง และ ให้ ผตร.สปน.ติดตามผล รายงานต่อ ครม.ให้ทราบ ๒. ให้กรม/หน่วยงานในสังกัดกระทรวง รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการที่มีผลต่อยุทธศาสตร์กระทรวง / ชาติ ให้ ผตร.กระทรวงทราบด้วย เพื่อจะได้ตรวจติดตาม ๓. ให้กรมภายในกระทรวง และระหว่างกระทรวง ประสาน โครงการกัน ทั้งการจัดทำแผน และการดำเนินงาน
นโยบายการตรวจราชการร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้องนโยบายการตรวจราชการร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ให้ ผตร.กระทรวง แต่ละกระทรวง ประสานการตรวจราชการร่วมกันในโครงการ ที่มีการเชื่อมโยงกัน ให้มีการจัดทำรายงานร่วมกันของ ผตร. กระทรวง และ ผตร.สปน. เมื่อเสร็จสิ้น การตรวจราชการในรอบที่ ๓ เพื่อสามารถให้ ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายแก่รัฐบาลได้
โครงการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการฯของกระทรวงสาธารณสุข ปี๒๕๕๔
การกำหนดความเสี่ยงในการดำเนินโครงการการกำหนดความเสี่ยงในการดำเนินโครงการ
การประเมินความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ การประเมินความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ประเมินจาก “ค่าดัชนีความเสี่ยง” ที่คำนวณจาก โอกาส x ผลกระทบ = ค่าดัชนีความเสี่ยง โอกาส ระดับความเป็นไปได้ของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับการดำเนินงานโครงการ (มีค่า = ๑ถึง๕) ผลกระทบระดับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผลสัมฤทธิ์ หรือผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ (มีค่า = ๑ถึง๕)
คณะกรรมการระดับจังหวัด ผวจ. –ประธาน สสจ. – เลขาฯ กรรมการ- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ(นอกสธ.)ภายในจังหวัด ตรวจราชการแบบบูรณาการ คณะกรรมการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD Board) สสจ./รองสสจ. –ประธาน งานสร้างเสริมสุขภาพ/งานNCD/งานสุขศึกษา – เลขาฯ กรรมการ- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากสสจ./ รพศ/รพท/รพช/เครือข่าย ตรวจราชการแบบเร่งด่วน
ประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยงประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยงประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยง
เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล K ๑.๑ จังหวัดขาดการบริหารจัดการที่เข้มแข็งในการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ
แบบติดตามฯ (ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ) K ๑.๑ ๑. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด ที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นเลขานุการ หรือไม่? อย่างไร? ๒. มีการแต่งตั้งคณะทำงานที่มาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัด หรือไม่? และในคำสั่งมีการระบุบทบาทหน้าที่ และกรอบการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยฯ หรือไม่? อย่างไร? ๓. จังหวัดมีแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงฯ แบบบูรณาการ หรือไม่? อย่างไร? และมีการผลักดันให้โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยฯเป็นนโยบายระดับจังหวัด หรือไม่? ๔. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงสาธารณสุข(ได้แก่ สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานเขต, อปท., เกษตรจังหวัด) ได้รับการถ่ายทอดนโยบายการดำเนินงานโครงการ หรือไม่? อย่างไร? และหน่วยงานดังกล่าว มีแผนงาน/โครงการที่รองรับ/สนับสนุนแผนของจังหวัด หรือไม่? อย่างไร?
แบบติดตามฯ (ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ) K ๑.๑ ๕. มีกิจกรรมการดำเนินงานตามแผนของจังหวัด หรือไม่? อย่างไร? ๖. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องข้างต้นมีกิจกรรมการดำเนินงานตามแผนที่รองรับหรือไม่? อย่างไร? ๗. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องมีการรายงาน สรุปผลการดำเนินงานตามแผนเสนอต่อคณะกรรมการระดับจังหวัด หรือไม่? อย่างไร?
เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล K ๒.๑ ขาดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
แบบติดตามฯ (ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ) K ๒.๑ ๑. จังหวัดมีการกำหนดให้มีหน่วยงานประสานงานกลางของจังหวัดเพื่อการสื่อสารแลกเปลี่ยน การดำเนินงานระหว่างหน่วยงานต่างๆหรือไม่? อย่างไร? มีการจัดไว้ ณ ที่ใด? ๒. ช่องทางการสื่อสารการดำเนินการระหว่างกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่กำหนดไว้ได้แก่ช่องทางใดบ้าง (เช่น หนังสือราชการ เว็บไซด์ ระบบสารบรรณอิเลคทรอนิกส์ ) ๓. มีการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันหรือไม่? มีการติดตามความก้าวหน้าและพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือไม่? อย่างไร?
เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล N ๑.๑ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ขาดการรับรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วม