360 likes | 590 Views
การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน ทอ.คปอ.๐๑๕. COL1. ชนิดการตรวจอากาศเพื่อการบิน. การตรวจแบบประจำชั่วโมง คำย่อ : SA ( METAR ) การตรวจแบบพิเศษ คำย่อ : SP ( SPECI ) การตรวจแบบประจำถิ่น คำย่อ : L ( LOCAL ) การตรวจแบบประจำชั่วโมงพิเศษ คำย่อ : RS (RECORD – SPECIAL METAR ).
E N D
การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน ทอ.คปอ.๐๑๕
COL1 ชนิดการตรวจอากาศเพื่อการบิน • การตรวจแบบประจำชั่วโมง คำย่อ : SA( METAR ) • การตรวจแบบพิเศษ คำย่อ : SP( SPECI ) • การตรวจแบบประจำถิ่น คำย่อ : L ( LOCAL ) • การตรวจแบบประจำชั่วโมงพิเศษ คำย่อ : RS (RECORD – SPECIAL METAR )
COL 2 เวลาของการตรวจอากาศชนิดต่างๆ • SA รายงานเวลาเป็นลำดับสุดท้าย นาทีที่ 55-59 • SP รายงานเวลาเป็นลำดับแรก • L รายงานเวลาเป็นลำดับแรก แต่ การรายงานเวลาการเปลี่ยนทางวิ่ง หรือ อ.อุบัติเหตุให้รายงานเวลาใกล้เคียงกับเวลาที่ได้รับรายงาน • RS รายงานเวลาที่แท้จริงในช่วงนาทีที่ 55 - 59
COL 9A 10 11 9B การตรวจลม พิจารณารายงานค่าลมเฉลี่ยช่วง 2 นาที • ทิศทางลม3 ตำแหน่ง ในช่อง 9Aใกล้เคียง 10 องศาลมสงบ 000
ทิศทางแปรปรวน (ทิศทางเปลี่ยนทิศ 60 องศาขึ้นไป) • ความเร็ว ตั้งแต่ 6 นอต หรือน้อยกว่า บันทึก VRB ใน Col.9A • ความเร็ว มากกว่า 6 นอต บันทึกทิศทาง ใน Col.9A ใน Col.9B บันทึกทิศทางที่แปรปรวนโดยใช้ V คั่นกลาง
ความเร็วลม • 2 ตำแหน่ง ความเร็วตั้งแต่ 100 บันทึก 3 ตำแหน่ง • ลมสงบบันทึก 00 ความเร็วลมกระโชก ค่าสูงสุดและต่ำสุดต่างกันตั้งแต่ 10 นอตขึ้นไป
ลมที่ได้จากการกะประมาณลมที่ได้จากการกะประมาณ บันทึก WND DATA ESTMD ในช่อง 13
การบันทึกค่าทัศนวิสัยการบันทึกค่าทัศนวิสัย COL 4A 4B • 4A บันทึก ทัศนวิสัยเป็นเมตร 4 ตำแหน่ง • 4B บันทึก ทัศนวิสัยเป็นไมล์ เมื่อเป็น จำนวนเต็มกับ เศษส่วน ให้เว้นวรรค เช่น 1 ½ • เมื่อทัศนวิสัยน้อยกว่า 7 ไมล์ ( 9999 ) จะต้องมีสภาพอากาศ ใน Col.5
COL5 สภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง ( ที่ตรวจพบบ่อยๆ )
ชนิดของฝน 1.ฝนละออง(DRIZZLE = DZ) เป็นรูปแบบของน้ำฟ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งหยดน้ำของ น้ำฟ้าชนิดนี้มีขนาดเล็ก ลักษณะการเกิดฝนละอองจะเกิดเป็นหยดใกล้กันเป็นระเบียบ เมื่อถูกกระแสลมพัดจะลอยไปตามกระแสลม ซึ่งแตกต่างจากหมอกตรงที่ฝนละออง จะตกลงสู่พื้นดินมักจะตกจากเมฆสเตรตัส (ST) และเมฆสเตรโตคิวมูลัส ( SC ) ที่มี ฐานต่ำๆ และมักจะร่วมกันกับการเกิดหมอกทำให้ทัศนวิสัยต่ำ 2.ฝนธรรมดา(RAIN = RA) อนุภาคของน้ำฟ้าที่เป็นของเหลวในรูปของหยดน้ำ ที่มีขนาดใหญ่กว่า ๐.๐๒ นิ้ว (๐.๕ มิลลิเมตร) หรืออาจมีขนาดเล็กกว่านี้ 3.ฝนโปรย( SHOWER : SHRA )เป็นฝนผ่านที่ตกในระยะเวลาอันสั้น และเป็นบริเวณแคบ มักเกิดจากเมฆ TCU หรือ CB ที่ลอยเดี่ยว ความแรงของฝนระหว่างเวลาที่เริ่มตกและหยุดเป็นเพียงชั่วขณะเดียว 4.ฝนระยะไกล ( VCSH ) ฝนที่เกิดในระยะ >0-10 ไมล์
หมอก ( FOG ) มีด้วยกัน 3 ชนิดคือ 1.ฟ้าหลัวหรือหมอกแดด( HAZE : HZ ) เกิดจากอานุภาคของฝุ่น เกลือ หรือควันในการเผาไหม้ ซึ่งเล็กมาก แขวนลอยอยู่ในอากาศ ท้องฟ้าที่มีฟ้าหลัวคลุม จะมีลักษณะ คล้ายควัน หรือเยื่อบางสีขาว ลอยนิ่งอยู่ในอากาศ ทำให้มองเห็นไม่ชัด คล้ายหมอก ลักษณะที่จะเป็นฟ้าหลัวนี้ ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่าน้อยกว่า 75 % 2.ฟ้าหลัวชื้น หรือหมอกบาง ( MIST OR LIGHT FOG : BR ) ฟ้าหลัวชนิดนี้เกิดจากเม็ดน้ำขนาดเล็ก แขวนลอยอยู่ในอากาศ ทัศวิสัยในทางระดับดีกว่าหมอก เพราะว่าเม็ดน้ำมีขนาดเล็กกว่า และกระจายบางกว่า ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่าตั้งแต่ 75 % - 96 %
3.หมอก ( FOG : FG )เกิดจากเม็ดน้ำขนาดเล็ก แขวนลอยอยู่ในอากาศ ปิดบังมากกว่าครึ่งหนึ่ง ของท้องฟ้า ทำให้ลักษณะอากาศเป็นฝ้าขาวหนาทึบ ทัศนวิสัยในทางระดับที่เกิดขึ้นต้องต่ำกว่า 1,000 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่ามากกว่า 96 %
ลูกเห็บ ( HAIL ) ลูกเห็บขนาดใหญ่ใช้รหัส (GR) มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๒ นิ้ว (๕ มิลลิเมตร) หรือมากกว่า การเข้ารหัส และรายงานเมื่อ เส้นผ่าศูนย์กลาง ที่วัดได้ ๑/๔ นิ้ว หรือมากกว่า ลูกเห็บขนาดเล็ก ใช้รหัส(GS) มีเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า ๐.๒ นิ้ว (๕ มิลลิเมตร)
COL 3 • บันทึกใน Col.5 • บันทึกได้สูงสุด 3 กลุ่ม • 1กลุ่ม บันทึกได้ไม่เกิน 9 ตัวอักษร ตัวอย่าง FC +TSRAGRDZ BR การบันทึกสภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง
เมฆแบ่งตามความสูงแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ • ชั้นต่ำ สูง 50 – 6,500 ฟุต เช่น SC , CU , CB , ST , TCU • ชั้นกลาง สูง 6,500 – 25,000 ฟุต เช่น AS , AC • ชั้นสูง สูง 20,000 – 60,000 ฟุต เช่น CI , CS , CC
การบันทึกรหัสสภาพท้องฟ้าการบันทึกรหัสสภาพท้องฟ้า FEW เล็กน้อย - 2/8 ส่วน SCT 3-4/8 ส่วน BKN 5-7/8 ส่วน OVC 8/8 ส่วน VV 8/8 ส่วน SKC ไม่มีเมฆและปรากฏการณ์ CLR ไม่มีเมฆต่ำกว่า 12,000ฟุต
บันทึกได้ไม่เกิน 6 กลุ่ม • ใช้หลักการรวมเมฆตั้งแต่ ชั้นล่างขึ้นไปหาสูง • บันทึกโดยแยกระหว่างปรากฏการณ์และเมฆ • CB และ TCU ต้องบันทึกต่อท้ายด้วย
กฏเกณฑ์เพิ่มเติมจากสัมมนาตรวจอากาศปี47กฏเกณฑ์เพิ่มเติมจากสัมมนาตรวจอากาศปี47 • VIS ตั้งแต่ 3 ไมล์ขึ้นไปไม่ต้องบันทึกรหัส FEW000 , SCT000 , BKN000 • VIS น้อยกว่า 3 ไมล์ ต้องบันทึก FEW000 , SCT000 , BKN000
COL7 TEMP ( C ) • บันทึกเป็นจำนวนเต็ม 2 ตำแหน่งและทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 30.4 • ถ้าไม่มีเครื่องวัด หาค่าไม่ได้ ให้เว้นว่างไว้ • ถ้าติดลบให้บันทึก M แทนค่าลบ
COL 8 DEWPOINT • บันทึกเป็นจำนวนเต็ม 2 ตำแหน่งและทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 30.4 • ถ้าไม่มีเครื่องวัด หาค่าไม่ได้ ให้เว้นว่างไว้ • ถ้าติดลบให้บันทึก M แทนค่าลบ
COL 12 ALSTG ( ALTIMETER SETTING ) • ( นิ้วปรอท ) • บันทึกตังเลข 4 ตำแหน่ง ( ไม่ต้องใส่จุดทศนิยม ) • ถ้าไม่มีเครื่องวัดหาค่าไม่ได้ให้เว้นว่างไว้ • ถ้าได้จากการประมาณค่า ใน ช่อง 13 ต้องบันทึก ESTMD ALSTG
COL 13 REMARKS AND SUPPLEMENT INFORMATION • การรายงานแยกข้อมูลให้ใช้การเว้นวรรค ห้ามใช้เครื่องหมาย /แยกข้อมูล
COL 14 A P.A. ( FEET ) • 14 A ( PRESSURE ALTITUDE ) • ค่าความสูงของความกดอากาศนั้น • บันทึกค่า + และ – หน้าค่าPA
COL 14 B R.H.( % ) • 14B ( RELATIVE HUMIDITY ) • ความชื้นสัมพัทธ์ หน่วยเป็น เปอร์เซ็นต์ • หาได้จาก TEMPกับ DEWPOINT
COL 17 STATION PRESSURE • ช่อง17 ความกดอากาศที่สถานี • หน่วยเป็นนิ้วปรอท • บันทึก 5 ตัวเลข โดยมีจุดทศนิยม 3 ตำแหน่ง
COL 21 TOTAL SKY COVER • ช่อง21 จำนวนปกคลุมท้องฟ้า • บันทึกได้ไม่เกิน 8 ส่วน
COL 15 OBS INIT • ช่อง15 รหัสย่อ จนท.ตรวจอากาศ • ผู้ฝึกงานให้บันทึกหลังช่อง 15
COL 4142 44 45 การตรวจวัดน้ำฟ้า • การตรวจวัดน้ำฟ้า เมื่อ - ทุก 6 ชั่วโมง - เที่ยงคืน หน่วยของการตรวจวัด - นิ้ว ( ถ้าน้อยกว่า 0.005 นิ้ว ถือเป็น TRACE ) - มิลลิเมตร
วันที่ 1 วันที่ 2
จำนวนฝนรวม 6 ชั่วโมง • รหัส 6RRRR • 6 เลขนำหมู่ • RRRR จำนวนฝน6 ชั่วโมงเป็นนิ้วพร้อมทศนิยม 2 ตำแหน่ง • 12.34 นิ้ว รายงาน 61234 • T รายงาน 60000
จำนวนฝนรวม 24 ชั่วโมง • รหัส 7R24R24R24R24 • 7 เลขนำหมู่ • R24R24R24R24จำนวนน้ำฝน 1900-1900 รายงานเป็นนิ้วพร้อมทศนิยม 2 ตำแหน่ง • 1.23 นิ้ว รายงาน 70123 • 1T ไม่ต้องรายงาน • 2T รายงาน 7////
SUMMARY OF THE DAY • COL 66 รายงานอุณหภูมิสูงสุด COL 67 รายงานอุณหภูมิต่ำสุด COL 68 รายงานฝนรวมประจำวัน COL 71 รายงานความเร็วลมสูงสุด COL72 รายงานทิศทางความเร็วลมสูงสุด COL 73 รายงานเวลาของความเร็วลมสูงสุด
COL 90 PRECIPITATION _/0700 - _/0700 MAX T. = C MIN T. = c MAX R.H. = % MIN R.H. = % AVG R.H. = % RAIN = INS RAIN = M.M รายงานอื่นๆนอกเหนือจาก COL13