301 likes | 615 Views
โดย ดร. วิเศษ นามวาท Wises Namwat, Ph.D.( Genetics Engineering) ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: wisnam@kku.ac.th. วัตถุประสงค์ของการเรียน. นักศึกษาสามารถอธิบายเรื่องต่อไปนี้ได้ Paramyxoviridae & Rubella virus: คุณสมบัติทั่วไป การจัดจำแนก
E N D
โดย ดร. วิเศษ นามวาท Wises Namwat, Ph.D.(Genetics Engineering) ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: wisnam@kku.ac.th
วัตถุประสงค์ของการเรียนวัตถุประสงค์ของการเรียน นักศึกษาสามารถอธิบายเรื่องต่อไปนี้ได้ • Paramyxoviridae & Rubella virus: คุณสมบัติทั่วไป การจัดจำแนก • โรคจากเชื้อไวรัส Parainfluenza, mumps, measles, respiratory syncytial, Rubella ในด้าน พยาธิกำเนิด อาการทางคลินิก ภูมิคุ้มกัน การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ระบาดวิทยา การรักษา การป้องกันและควบคุม
เนื้อหา • Paramyxoviridae & Rubella virus: คุณสมบัติทั่วไป การจัดจำแนก • โรคจากเชื้อไวรัส Parainfluenza, mumps, measles, respiratory syncytial, Rubella ในด้าน พยาธิกำเนิด อาการทางคลินิก ภูมิคุ้มกัน การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ระบาดวิทยา การรักษา การป้องกันและควบคุม
ลักษณะทั่วไปของ Paramyxoviridae • ทรงกลม /สายยาว • ssRNA สายลบ 1 เส้น • มี nucleocapsid / RNP (helix) • envelop มี glycoprotein 2 ชนิด • fusion glycoprotein (F) • attatchment glycoprotein e.g. H, N
การจัดจำแนก Paramyxoviridae Subfamily Genus Human species Paramyxovirinae Paramyxovirus parainfluenza virus type ... Rubulavirus parainfluenza virus type … Mumps virus Morbillivirus Measles virus Pneumovirinae Pneumovirus Respiratory syncytial virus (RSV)
Parainfluenza viruses • envelop มี spike 2 ชนิด: HN, F, (& hemolysin) • ทำลายได้ด้วยกรด อีเธอร์ สารละลายไขมัน • แบ่งเป็น 4 (1-4) type ตามคุณสมบัติของ Ag (ที่ไม่ต่างกันมาก) การติดต่อ และพยาธิกำเนิด • หายใจรับเชื้อเข้าไปที่ nasopharynx ฟักตัว 2-6 วัน • เยื่อบุทางเดินหายใจอักเสบ • แทรกซ้อนด้วย ปอดบวม viremia, laryngotracheobronchitis อาการทางคลินิก และภูมิคุ้มกัน • น้ำมูกไหล คอ หลอดลมอักเสบ ไอ มีไข้นำ laryngotracheobronchitis ภูมิคุ้มกัน: local IgA-specific anti-HNF Ab
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ • Ag, culture, Ab ระบาดวิทยา การป้องกันและควบคุม • พบได้ทั่วโลก แต่ละชนิดมีรูปแบบระบาดต่างกัน • โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันในเด็ก ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อนี้ • วัคซีนยังมีประสิทธิภาพดีพอ
Mumps virus ไวรัสโรคคางทูม • envelop มี spike 2 ชนิด: HN, F & hemolysin • ทำลายด้วย 56 oC 20 min, UV, อีเธอร์ ฟอร์มาลิน • มี type เดียว โดยมี 5 Ag: HN, F, RNP, P, M พยาธิกำเนิดและพยาธิสภาพ • หายใจรับละอองน้ำลายมีเชื้อ ฟักตัว 16-18 วัน • เข้าเยื่อบุทางเดินหายใจ ต่อมน้ำเหลือง กระแสเลือด • แล้ว ติดเชื้อที่ต่อมน้ำลาย(คางทูม) • viremia อัณฑะ รังไข่ ตับอ่อน ไต หัวใจ เยื่อหุ้มสมอง สมอง • ต่อมน้ำลายพาโรติดอักเสบ เซลล์เยื่อบุท่อน้ำลายหลุดลอก
อาการทางคลินิก • มีไข้เฉียบพลัน • ต่อมน้ำลายพาโรติดบวม ปวด กิน พูดลำบาก • แทรกซ้อน: อักเสบที่ อัณฑะ/รังไข่ (20%) เยื่อบุสมอง meningoencephalitis ตับอ่อน • 1/3 ของผู้ติดเชื้อ ไม่แสดงอาการ ภูมิคุ้มกัน • ป้องกันได้ตลอดชีวิต การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ • สังเกตอาการชัดเจนก็เพียงพอ • เพาะเลี้ยงแยกเชื้อ หรือ ตรวจหา Ab คู่
ระบาดวิทยา การป้องกันและควบคุม • มักพบในเด็ก 5-10 ปี • ติดต่อทางน้ำลาย ตั้งแต่ 6 วันก่อนมีอาการ-9 วันหลังมีอาการ • ไม่มีอาการก็แพร่เชื้อได้ • พบได้ตลอดปี • มีวัคซีน MMR
Newcastle disease virus (NDV) • โรคระบบทางเดินหายใจของสัตว์ปีก เช่น นก ไก่ • เกิดอักเสบที่ ปอด สมอง • ในคน ทำให้เกิดเยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
Measles virus ไวรัสโรคหัด • เป็นสาเหตุโรคหัด (Measles /rubeola) • เป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ในวัยเด็ก • มี 1 serotype พยาธิกำเนิดและพยาธิสภาพ • เข้าทางเดินหายใจและเยื่อบุตา ฟักตัว 9-11 วัน • เข้าต่อมน้ำเหลือง เลือด • เพิ่มจำนวนใน recticuloendothelial system • ไปยังตา ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ CNS • ไวรัสแพร่ออกมากับ สารคัดหลั่งจากตา ทางเดินหายใจ ปัสสาวะ
อาการทางคลินิก โรคหัด • น้ำมูกไหล ไอเสียงก้อง ตาแฉะ เคืองตาเมื่อโดนแสง ไข้สูง • ต่อมน้ำเหลืองและม้ามโต • Koplik’s spot ในเยื่อบุช่องปาก • มีผื่นขึ้นที่ผิวหนัง หน้า คอ ลำตัว แขน ขา • ผื่นเป็นเม็ดแดง เป็นปื้น (maculopapular rash) 10 วันหายเอง • แทรกซ้อนด้วย หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ สมองไขสันหลังอักเสบ ภูมิคุ้มกัน: หลังติดเชื้อจะมีภูมิคุ้มกันตลอดชีวิต
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ • Ag, culture, Ab ระบาดวิทยา การป้องกันและควบคุม • พบได้ทั่วโลก • แพร่กระจายง่าย โดย ไอ จาม • พบมากในเด็ก 1-6 ปี การป้องกัน ควบคุม • รักษาตามอาการ • แยกผู้ป่วย • วัคซีน ดี ไม่แพง MMR
Respiratory syncytial virus (RSV) • โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน acute respiratory infection • หลอดลมฝอยอักเสบ ปอดบวม • เชื้อทำให้ CPE แบบ syncytial cell (หลายเซลล์รวมกันเป็นเซลล์ใหญ่ • ทรงกลมและสายยาว • ssRNA สายลบ 340 nm RNP แบบเกลียว • envelope มี spike: H, N, hemolysin, F, G • ทนทานน้อย ความร้อน 55oC 5 min
พยาธิกำเนิดพยาธิสภาพ • เข้าทางหายใจ เยื่อเมือกของจมูก คอ • ในเด็ก ลุกลามไปยังระบบหายใจส่วนล่าง อักเสบ อุดตัน อาการทางคลินิก และภูมิคุ้มกัน • มีไข้ น้ำมูกไหล คออักเสบ • หลอดลมฝอยอักเสบ ปอดบวมรุนแรง การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ • Ag, culture, Ab
ระบาดวิทยา และการรักษา • พบได้ทั่วโลก • ในเด็ก 0-1 ปี พบบ่อย • ติดเชื้อผู้ให้บริการพยาบาล • รักษาตามอาการ ให้ยาต้านไวรัส ribavirin การป้องกันและควบคุม • วัคซีนไม่สามารถป้องกันได้ • ไม่พบ specific-IgA ในสารคัดหลั่ง
Rubella virus ไวรัสโรคหัดเยอรมัน • รุนแรงน้อยกว่าหัด หายเองใน 3-4 วัน • ตาเป็นต้อกระจก พิการแต่กำเนิด หากติดเชื้อในครรภ์เดือนแรกๆ • F. Togaviridae, G. Rubivirusมีโฮสต์เป็นคนอย่างเดียว • รูปร่างกลม 60-70 nm neucleocapsid แบบ icosahedral • envelop มีปุ่มยื่น E1, E2 • ssRNA สายบวก 6 kb • ทนทานน้อย ความร้อน UV อีเธอร์
การติดเชื้อหัดเยอรมันในคนทั่วไป (Postnatal rubella) การติดต่อและพยาธิกำเนิด • ติดต่อทางการหายใจ เข้าเยื่อบุทางเดินหายใจ ต่อมน้ำเหลืองที่คอ • เชื้อกระจายทางหลอดน้ำเหลือง/เลือด แล้วเพิ่มจำนวนใน lymph node • posterior cervical node & occipital node โต/ปวด 5-10 วันก่อนมีผื่น • เชื้อเข้ากระแสเลือดอีกครั้ง • เกิดผื่นหลังรับเชื้อ 16-18 วัน ลักษณะทางพยาธิวิทยา • พบ folicular hyperplasia ใน lymphorecticular tissue, CNS, เยื่อหุ้มข้อ • บวมของต่อมน้ำเหลืองและม้าม
อาการทางคลินิก • อาการนำ: ไข้ต่ำ ปวดตา ปวดหัว เบื่ออาหาร หนาวสั่น ไอ เจ็บคอ หวัด • ต่อมน้ำเหลืองโตที่ หลังคอ หลังหู • ผื่นเม็ดละเอียดสีแดง (maculopapular rash) ที่ใบหน้าก่อนแขนขา • ผื่นหายใน 3 วัน /คันร่วมด้วย • แทรกซ้อนด้วย ปวดข้อ เกล็ดเลือดต่ำ สมองอักเสบ
การติดเชื้อหัดเยอรมันของทารกในครรภ์มารดา (Congenital rubella) การติดต่อและพยาธิกำเนิดและลักษณะทางพยาธิวิทยา • ถ้าแม่กำจัดเชื้อไม่ได้ เชื้อในกระแสเลือดแม่ จะผ่านไปยังทารกได้ • ทารกเกิดพยาธิสภาพ: • ทำลายเซลล์ • ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเซลล์ • เนื้อเยื่อตาย เช่น ตับ หัวใจ • เยื่อบุเรตินาถูกทำลาย พบต้อกระจก • ติดเชื้อเรื้อรัง จนคลอด หรือเสียชีวิตในครรภ์
อาการทางคลินิก การเกิดความพิการของทารกในครรภ์ เรียก congenital rubella syndrome (CRS) แบ่งเป็น 3 กลุ่มอาการ • transient sequelae: หายใน 2-3 wk, มีผื่น ตับม้ามโต อักเสบ • Permanent manifestations: พิการถาวร เช่น หูหนวก โรคหัวใจ ตาเป็นโรค • Delayed manifestations: เกิดในเด็กหรือหนุ่มสาว เช่น ต่อมไร้ท่อผิดปกติ เบาหวาน
ภูมิคุ้มกัน • แอนติบอดีต่อเชื้อในทารกมีบทบาทน้อย • มีความบกพร่องด้าน CMIR หลายเดือนหลังคลอด
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ • culture • Ab ระบาดวิทยา การป้องกัน และควบคุม • พบได้ทั่วโลก • วัคซีนทำให้อัตราป่วยลดลง 95% • พาหะที่สำคัญคือทารกแรกเกิดติดเชื้อ แพร่ให้แม่ พยาบาล • หลักการสำคัญคือป้องกันการติดเชื้อในหญิงมีครรภ์ • MMR, measles mumps rubella vaccine ฉีดเมื่ออายุ 15 m & 12 y
คำถามสำคัญ • Paramyxoviridae & : คุณสมบัติทั่วไปอย่างไร • Rubella virus มีคุณสมบัติทั่วไปอย่างไร • ในด้าน • พยาธิกำเนิดและอาการทางคลินิกของ โรคจากเชื้อไวรัส Parainfluenza, mumps, measles, respiratory syncytial, Rubella แตกต่างกันอย่างไร • การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการของโรคเหล่านี้ทำได้กี่วิธี อะไรบ้าง • การรักษา การป้องกันและควบคุมโรคทำได้อย่างไรบ้าง
แหล่งอ้างอิง • ไวรัสวิทยา เล่ม 2, 2544, ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บรรณาธิการ จริยาหาญวจนวงศ์ และคณะ • http://www.md.kku.ac.th/11Department/micro/public_html/TeachingAid/Wises/Wises.html • http://web.uct.ac.za/depts/mmi/jmoodie/parvo.html • http://web.uct.ac.za/depts/mmi/jmoodie/mumps.html • http://web.uct.ac.za/depts/mmi/jmoodie/vires2.html • http://www.med.sc.edu:85/mhunt/mump-meas.htm