1 / 43

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินองค์กร/ชุมชนต้นแบบไร้พุงและคลินิกไร้พุง

แนวทางการประเมิน คลินิกไร้พุง ( Diet & Physical Activity clinic : DPAC ). เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์. วท.ด.(วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) ศูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Pensri0701@gmail.com 089 0227470.

zeal
Download Presentation

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินองค์กร/ชุมชนต้นแบบไร้พุงและคลินิกไร้พุง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการประเมิน คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC) เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์. วท.ด.(วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) ศูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Pensri0701@gmail.com 089 0227470 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินองค์กร/ชุมชนต้นแบบไร้พุงและคลินิกไร้พุง วันที่ 7 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุมประกายพฤกษ์ ศูนย์อนามัยที่

  2. การแก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มี 2 ระดับ 1. ระดับชุมชน (Community approach)ใช้กับประชาชนกลุ่มปกติ หรือกลุ่มเสี่ยง เรียกว่า ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่  องค์กร/ชุมชนต้นแบบไร้พุง (กรมอนามัย)  ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กรมควบคุมโรค  หมู่บ้านจัดการสุขภาพ (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ) 2. ระดับบุคคลหรือรายบุคคล (Individual approach) ใช้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง หรือ กลุ่มป่วยที่ควบคุมไม่ได้ เรียกว่า คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC)

  3. ผลการเยี่ยม พัฒนา และประเมินผลการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (ปี พ.ศ.2555)

  4. ปัญหาและอุปสรรค • ศักยภาพของผู้ให้บริการในคลินิกไร้พุง (การบูรณาการความรู้เกี่ยวกับโรค การบริโภคอาหาร การใช้แรงการที่เหมาะสมในแต่ละอาชีพ เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) • ความชัดเจนในขอบเขตการให้บริการของคลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลแต่ละระดับ • ระบบการส่งต่อของผู้มารับบริการ

  5. ข้อเสนอแนะ • กำหนดเป็นนโยบายให้สถานบริการทุกแห่งจัดตั้งและขอให้ดำเนินการอย่างจริงจัง • การกำหนดบทบาทหน้าที่ของการให้บริการชัดเจนระหว่างคลินิกไร้พุงของ รพ.แต่ละระดับ และระบบการส่งต่อด้วย(บอร์ด NCD กำหนดขอบเขตของการให้บริการและใช้ทั้งเขตกำลังดำเนินการ • พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด สสอ. ในการประเมินคลินิกไร้พุงทำวันที่ 7 มิถุนายน 2556 • พัฒนาศักยภาพให้กับผู้ให้บริการในคลินิกไร้พุง

  6. สิ่งที่ผู้ประเมินต้องรู้ ในการประเมินคลินิกไร้พุง • เกณฑ์การแบ่งกลุ่มเสี่ยงต่างๆ และผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้และที่ควบคุมไม่ได้ • กลุ่มเป้าหมายและเป้าหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พุง • เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • คลินิกไร้พุง • เกณฑ์การประเมิน “คลินิกไร้พุง”

  7. 1.เกณฑ์การแบ่งกลุ่มเสี่ยงต่างๆ และผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้และที่ควบคุมไม่ได้

  8. Approachกลุ่มประชาชนทั่วไปApproachกลุ่มประชาชนทั่วไป 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • FCG < 100 • BP < 120/80 • FCG 100 - 125 • BP 120/80 – 139/89 • FCG > 126 • BP >140/90 • ตา ไต ตีน • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • DPAC 3อ. 2ส. • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. เข้มข้น • DPAC • รักษาดู HbA1C • ค้นหาภาวะแทรกซ้อน • ถ่ายภาพจอประสาทตา • microalbuminuria • ตรวจเท้า • รักษาโรคและ • ภาวะแทรกซ้อน

  9. การคัดกรองสุขภาพ ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี รอบ เอว ชาย  90 ซม. 90 – 102 ซม. มากกว่า 102 ซม. หญิง 80 ซม. 80 – 88 ซม. มากกว่า 88 ซม. BMI 18.5–22.9 กก./ม223.0-24.9 กก./ม2 25 กก./ม2 BP 120/80 mmHg 120/80-139/89  140/90 mmHg FBS 100 mg/dl 100-125 mg/dl  126 mg/dl

  10. การแบ่งประเภทผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการแบ่งประเภทผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  11. VICHAI MODEL (ส.ค.2555)

  12. สรุป การคัดกรองประชาชนและการจัดการ

  13. 2. กลุ่มเป้าหมาย และเป้าหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  14. กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวานและเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ อ้วน (BMI  25 กก./ม2) อ้วนลงพุงที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง (รอบเอว ชาย 102 ซม. และหญิง  88 ซม.) กลุ่มเป้าหมาย ได้จากการคัดกรองประชาชน และทะเบียนการรักษาในรพ.สต. หรือ รพ.ต่างๆ

  15. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้ (HbA1C น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือระดับ FBS  70 -  130 mg/dl. 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน) ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้ (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีระดับ BP140/90 mmHg อย่างน้อย 3 ครั้งติดต่อกัน)

  16. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง (ต่อ) กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน (FPG or FCG =100-125 mg/dl. กลายเป็น ไม่ให้กลายเป็นโรค หรือ อยู่เหมือนเดิมหรือ กลุ่มปกติ (FPG or FCG 100 mg/dl. ) กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง (SBP 120-139 mmHg และ/หรือ DBP 80-89 mmHg) กลายเป็น ไม่ให้กลายเป็นโรค หรือ อยู่เหมือนเดิมหรือ กลุ่มปกติ (BP  120/80 mmHg) (Fasting Plasma Glucose : FPG, Fasting Capillary blood Glucose : FCG)

  17. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง (ต่อ) อ้วนอันตราย (BMI  30 กก./ม2) อ้วน (BMI 25.0-29.9 กก./ม2) ท้วม (BMI 23.0-24.9 กก./ม2) ปกติ (BMI 18.5-22.9 กก./ม2) (หลักเกณฑ์ของ International Obesity Task Force : IOTF)

  18. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง (ต่อ) ผู้ชาย เสี่ยงสูง (รอบเอว  102 ซม.) เสี่ยง (รอบเอว 90-102 ซม.) ปกติ (น้อยกว่า 90 ซม.) ผู้หญิง เสี่ยงสูง (รอบเอว  88 ซม.) เสี่ยง (รอบเอว 80-88 ซม.) ปกติ (น้อยกว่า 80 ซม.) กัลยา กิจบุญชู. ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับคนอ้วน.

  19. สรุป กลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการในคลินิกไร้พุง

  20. 3.แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พุง

  21. ทฤษฎี ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม(Stages of change theory) Prochaska and DiClimente. 1983 Transtheoretical Model : TTM ขั้นไม่สนใจปัญหา (Pre-contemplation) ขั้นลังเลใจ (Contemplation) ขั้นตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation) ขั้นลงมือปฏิบัติ (Action) ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance)

  22. ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

  23. การประยุกต์ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ใน คลินิกไร้พุง

  24. 4. เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  25. วิธีการปรับพฤติกรรม 1. เน้นที่พฤติกรรมเฉพาะเจาะจง เฉพาะกลุ่มเสี่ยง 2. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ 3. ต้องมีการกำหนดพฤติกรรมเป้าหมายที่ชัดเจน 4. ต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จะเน้นที่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเท่านั้น การปรับพฤติกรรมสามารถใช้ได้อย่างเหมาะสมตามลักษณะปัญหาของแต่ละบุคคล

  26. หลักการบริโภคอาหาร เพื่อควบคุมพลังงาน กินอาหารครบ 3 มื้อ ต้องไม่งดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง ลดปริมาณอาหารทุกมื้อที่กิน เน้นกินอาหารจานเดียว (ไม่ตักเพิ่ม) เลือกกินอาหารพลังงานต่ำ กินผัก ผลไม้ในมื้ออาหารให้มากขึ้น เคี้ยวอาหารช้าๆ มีความอดทนถ้ารู้สึกหิว ทั้งๆที่เพิ่งกินไป

  27. เปรียบเทียบการปรับพฤติกรรมในระดับชุมชนและระดับบุคคลเปรียบเทียบการปรับพฤติกรรมในระดับชุมชนและระดับบุคคล

  28. 5. คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC)

  29. การจัดตั้งและดำเนินการ “คลินิกไร้พุง” เพื่อแก้ปัญหารายบุคคลในกรณีที่องค์กร/ชุมชนดำเนินการปรับพฤติกรรมแล้วไม่สามารถแก้ปัญหาในกลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วยที่ ไม่สามารถควบคุมได้

  30. คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity Clinic : DPAC) คลินิกที่ดำเนินการเพื่อให้เกิดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและมีการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง พร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิดผลการปฏิบัติตามแนวทางมาตรฐานที่กำหนดไว้แต่ละกลุ่มวัยอย่างถูกต้อง สนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนในการปฏิบัติ ที่มา : คู่มือการดำเนินงานในคลินิก DPAC สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

  31. แนวทางการจัดตั้งคลินิกไร้พุง แนวทางการจัดตั้งคลินิกไร้พุง

  32. แนวทางในการให้คำปรึกษา ใน คลินิกไร้พุง วินิจฉัยสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงของผู้รับบริการให้ได้ พฤติกรรมที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา (มีอะไรบ้าง) เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง (แต่ละปัญหา) กิจกรรมที่ผู้รับบริการเลือกที่จะปฏิบัติ (ในแต่ละครั้ง) การนัดเพื่อติดตามและประเมินผล (ในแต่ละครั้ง) สิ่งสำคัญ คือ ต้องประเมินพฤติกรรมของผู้มารับบริการนั้น ว่าอยู่ในขั้นตอนใด หรือทำอะไรได้บ้าง

  33. กลุ่มที่ไม่สนใจปัญหา/โรคที่ตนเองเป็น มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือเป็นโรคอะไร กลุ่มที่ลังเลใจ มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร กลุ่มที่อยู่ในขั้นตัดสินใจและเตรียมตัว มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร กลุ่มที่อยู่ในขั้นลงมือปฏิบัติ มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร กลุ่มที่กระทำที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร (น้ำหนักลด รอบเอวลด กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรค กลุ่มป่วยควบคุมได้) การสรุปผลการดำเนินงาน ใน คลินิกไร้พุง

  34. 6. เกณฑ์การประเมินคลินิกไร้พุง

  35. เกณฑ์การประเมินหน่วยงานที่ดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC)

  36. เกณฑ์การประเมินหน่วยงานที่ดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC)ใหม่

  37. 1. การบริหารจัดการ (20 คะแนน)

  38. 2. ด้านการให้บริการ (50 คะแนน)

  39. 3. การติดตาม ประเมินผล(-0 คะแนน)

  40. 3. การติดตาม ประเมินผล(30 คะแนน)

  41. ผู้ประเมินรับรองคลินิกไร้พุง (ปี 2556) • โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ผู้ประเมินรับรองจำนวน 3 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของศูนย์อนามัยที่ 3 ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผู้ประเมินรับรองจำนวน 3 คน ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและผู้อำนวยการของ รพ.สต.ที่ไม่ได้ถูกประเมิน

  42. การเยี่ยม พัฒนา และประเมินผลการดำเนินงาน • ฟังอย่างตั้งใจ ไม่ถามในสิ่งที่ผู้ถูกเยี่ยมเล่าให้ฟัง ยกเว้นจะถามเพื่อต้องการยืนยันอีกครั้ง • เวลาถามให้เรียงลำดับเรื่องก่อน – หลัง • ถ้ามีผู้เยี่ยมหลายๆคน ถ้าจะถามให้ถามต่อจากเรื่องที่คนเดิมถามอยู่ • สุดท้ายต้องสรุปร่วมกันทุกครั้งว่า อะไรดีแล้ว อะไรที่ควรจะพัฒนาเพิ่มขึ้น และผลการเยี่ยมครั้งนี้เป็นอย่างไร

  43. จงเชื่อมั่น และทำให้เป็นจริง นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 43

More Related