1 / 35

กฎ ระเบียบ ว่าด้วยการจัดซื้อเวชภัณฑ์

กฎ ระเบียบ ว่าด้วยการจัดซื้อเวชภัณฑ์. ของส่วนราชการ. รศ.(พิเศษ) ภก.กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ เภสัชกรเชี่ยวชาญ สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ. ประเด็น :-. หลักการบริหารงบประมาณด้านเวชภัณฑ์ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535

zeal
Download Presentation

กฎ ระเบียบ ว่าด้วยการจัดซื้อเวชภัณฑ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎ ระเบียบ ว่าด้วยการจัดซื้อเวชภัณฑ์ ของส่วนราชการ รศ.(พิเศษ) ภก.กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ เภสัชกรเชี่ยวชาญ สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

  2. ประเด็น :- • หลักการบริหารงบประมาณด้านเวชภัณฑ์ • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 • ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2543

  3. หลักการบริหารงบประมาณค่าเวชภัณฑ์ภาครัฐหลักการบริหารงบประมาณค่าเวชภัณฑ์ภาครัฐ ต้องโปร่งใส  ต้องมีความเข้าใจในระเบียบแบบ แผนการปฏิบัติ  ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของทาง ราชการหรือประโยชน์ส่วนรวม เป็นหลัก

  4. สภาพปัญหาเกี่ยวกับยาและเวชภัณฑ์สภาพปัญหาเกี่ยวกับยาและเวชภัณฑ์ 1) การใช้ไม่ประหยัด ราคาแพง 2) การเก็บรักษาไม่ดี 3) มีเวชภัณฑ์ค้างในคลังมากเกินความจำเป็น 4) เวชภัณฑ์บางรายการขาด 5) มีเวชภัณฑ์ไม่ตรงตามความต้องการ ของผู้ใช้ 6) การสั่งใช้ยาไม่เหมาะสม

  5. สาเหตุของปัญหา การบริหารจัดการที่ไม่เป็นระบบ ผู้รับผิดชอบ ขาดความรู้ความ เข้าใจ รวมถึงมีเจตนาไม่สุจริตใน การดำเนินการ การขาดแคลนงบประมาณ

  6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  7. ส่วนราชการเริ่มจัดหาได้เมื่อใดส่วนราชการเริ่มจัดหาได้เมื่อใด - ระเบียบฯ ข้อ 13 กำหนดว่า หลังจากได้ทราบยอดเงิน ที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้ส่วนราชการรีบดำเนินการจัดหาตามแผน คำว่า “ทราบยอดเงิน” คือ เมื่อใด คำวินิจฉัย กวพ. - เงินงบประมาณ งบผ่านสภา - เงินงบกลาง สำนักงบประมาณอนุมัติแล้ว

  8. เจ้าหน้าที่พัสดุ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน โดยตำแหน่ง ข้าราชการ โดยแต่งตั้ง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง อธิบดี (ส่วนกลาง) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ } ข้าราชการ

  9. ขอความเห็นชอบ วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 6 วิธี - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ดำเนินการ ขออนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ การทำสัญญา - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน การตรวจรับ ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง

  10. Ex • ถามว่า หากไม่ทำตามลำดับขั้นตอน จะทำย้อนขั้นตอนได้หรือไม่ - ทำได้ เฉพาะวิธีตกลงราคาเร่งด่วน - องค์ประกอบ - จำเป็นเร่งด่วน - ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน - ดำเนินการปกติไม่ทัน

  11. ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 22 การแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง • การซื้อหรือการจ้าง ถ้าผู้สั่งซื้อหรือผู้สั่งจ้างเห็นสมควรจะสั่งให้กระทำโดยวิธีที่กำหนดไว้สำหรับวงเงินที่สูงกว่าก็ได้ • การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้าง จะกระทำมิได้ • ลดวงเงินที่จะจัดซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกัน เพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด • เพื่อให้อำนาจสั่งซื้อหรือสั่งจ้างเปลี่ยนไป

  12. ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 27 รายงานขอซื้อ • ต้องขออนุมัติซื้อก่อนดำเนินการจัดซื้อ • การขออนุมัติซื้อต้องจัดทำรายงานเสนอดังนี้ • 1) เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องซื้อ • 2) รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อ • 3) ราคามาตรฐานหรือราคากลางหรือราคาที่เคย • ซื้อครั้งหลังสุด • 4) วงเงินที่จะซื้อหรือเงินที่ประมาณการ • 5) กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้น • 6) วิธีที่จะซื้อ และเหตุผลที่ซื้อโดยวิธีนั้น • 7) ข้อเสนออื่น ๆ

  13. Exการจัดซื้อจัดจ้างแบบแข่งขัน กับ แบบไม่แข่งขันมีหลักการแตกต่างกันอย่างไร • แบบไม่แข่งขัน • ต้องตรวจสอบได้ • แบบแข่งขัน • ต้องเปิดเผย - ประกาศทราบทั่วกัน • ต้องโปร่งใส - ตรวจสอบได้ • ต้องเป็นธรรม - เงื่อนไข เสมอภาค ไม่ขัดขวาง - ผ่อนปรน ไม่ก่อให้เกิดการได้เปรียบ เสียเปรียบ - ตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน

  14. ระเบียบพัสดุฯ วิธีซื้อและวิธีจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน • 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท และเป็นเฉพาะ • กรณีที่กำหนด • วิธีกรณีพิเศษ ซื้อจากส่วนราชการหรือหน่วยงาน • ของรัฐซึ่งเป็นผู้ ผลิตพัสดุนั้นและนายกรัฐมนตรี • อนุมัติให้ซื้อหรือ มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรี • กำหนดให้ซื้อ

  15. ในปี 2549 กรมบัญชีกลางได้เพิ่มวิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง โดยระบบอิเล็คโทรนิกส์ ดังนี้ • ถ้าวงเงินในการจัดซื้อ/จัดจ้างมากกว่า 2 ล้านบาท • ให้จัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธี e Auction • ถ้าวงเงินในการจัดซื้อ/จัดจ้างน้อยกว่า 100,000 • บาท ให้จัดซื้อ/จัดจ้าง โดยวิธี e Shopping • ใช้จัดซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ จอมอนิเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ Notebook เครื่องพิมพ์ และเครื่องฉาย LCD • ให้ดำเนินการเฉพาะส่วนราชการส่วนกลาง และปริมณฑล

  16. ระเบียบ สนร.ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 60 การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ให้จัดซื้อยาตามชื่อสามัญของ ยาใน ED  สธ. ให้ใช้เงินงบประมาณซื้อยา ED ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

  17. ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 61 และ 62 • ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ถ้า GPO ผลิต • ต้องซื้อจาก GPO โดยราคายาต้องไม่สูง • กว่าราคากลางเกิน 3%  ยา ED และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่ GPO มิได้ ผลิตแต่มีจำหน่าย ซื้อจากผู้ขายหรือผู้ผลิต รายใดก็ได้โดย - สอบราคา/ประกวดราคาให้แจ้ง GPO - ตกลงราคา/พิเศษ ซื้อไม่สูงกว่าราคากลาง

  18. ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 63 และ 64 กรณีมีกฎหมายหรือมติ ครม. กำหนดให้ ซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาจากหน่วยงานใด ให้ซื้อโดยวิธีกรณีพิเศษ  ให้ กสธ. มีหน้าที่แจ้งเวียน - บัญชีรายการยา ED - ราคากลางของยา ED - รายการเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ให้ GPO แจ้งรายการยา ED และรายการ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่ ผลิตและมีจำหน่าย

  19. บทกำหนดโทษ ข้อ 10 ผู้มีอำนาจหรือหน้าที่ดำเนินการตามระเบียบนี้ หรือผู้หนึ่งผู้ใด กระทำการใดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ หรือกระทำการโดย มีเจตนาทุจริต หรือกระทำการโดยปราศจากอำนาจ หรือนอกเหนืออำนาจหน้าที่ รวมทั้งมีพฤติกรรมที่เอื้ออำนวยแก่ผู้เข้าเสนอราคาหรือเสนองาน ให้มีการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการหรือตามกฎหมายเฉพาะของส่วนราชการนั้น ภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้

  20. ถ้าการกระทำมีเจตนาทุจริต หรือเป็นเหตุให้ • ทางราชการเสียหายอย่างร้ายแรงให้ • ดำเนินการลงโทษอย่างต่ำปลดออกจากราชการ • (2) ถ้าการกระทำเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย • แต่ไม่ร้ายแรง ให้ลงโทษอย่างต่ำตัดเงินเดือน • (3) ถ้าการกระทำไม่เป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย • ให้ลงโทษภาคทัณฑ์ หรือว่ากล่าวตักเตือน โดย • ทำคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร

  21. ความผิดเกี่ยวกับพัสดุ กับโทษปรับทางปกครอง(ตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544) • ข้อ. 37 การแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง (โทษชั้นที่ 4) • ข้อ. 39 การกำหนดราคากลาง คุณสมบัติของผู้เข้าเสนอราคา การจัดทำรายละเอียดคุณลักษณะในการสอบ/ประกวดราคา ซึ่งมีผลเป็นการกีดกัน หรือเอื้อประโยชน์แก่ผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่ง (โทษชั้นที่ 4) • ข้อ. 40 การปิดประกาศหรือจัดส่งเอกสารสอบราคาหรือประกวดราคา ละเลยไม่ปิดประกาศ หรือจัดส่งเอกสารให้บุคคลที่ควรทราบเพื่อเผยแพร่ (โทษชั้นที่ 1) ละเว้น (โทษชั้นที่ 4)

  22. ข้อ. 41 การพิจารณาผลการประกวดราคา หรือเปิดซองสอบราคา ปฏิบัติไม่ถูกต้อง โดยรู้หรือควรจะรู้ข้อเท็จจริง (โทษชั้นที่ 3) • ข้อ. 42 การพิจารณาเสนอความคิดเห็นให้ซื้อหรือจ้าง ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง หรือไม่พิจารณาเสนอให้ซื้อหรือจ้างผู้เสนอราคาต่ำสุด โดยไม่มีเหตุผล (โทษชั้นที่ 3) • ข้อ. 43 การทำสัญญาซื้อ/จ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ (โทษชั้นที่ 4) • ข้อ. 44 การควบคุมงานหรือการตรวจการจ้างปฏิบัติหน้าที่ไม่ถูกต้อง (โทษชั้นที่ 3) - ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ (โทษชั้นที่ 4)

  23. ข้อ. 45 การตรวจรับพัสดุ (โทษชั้นที่ 4) • ข้อ. 46 การเบิกจ่ายพัสดุ (โทษชั้นที่ 2) • ข้อ. 47 การตรวจสอบพัสดุประจำปี (โทษชั้นที่ 2) ผู้บังคับบัญชาไม่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบพัสดุ (โทษชั้นที่ 3) • ข้อ. 49 เป็นผู้บังคับบัญชามีส่วนร่วมกระทำความผิด (โทษชั้นที่ 4)

  24. มติคณะรัฐมนตรี 13 มีนาคม 2550 เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อยา ของกระทรวงสาธารณสุข ป.ป.ช. เสนอมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อยาของ กสธ. แก่ นายกรัฐมนตรี (หนังสือปปช. ที่ ปปช.0002/0749 ลว. 17 ธค.45)

  25. ส่วนกลาง เขต & จังหวัด มาตรการการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อยา สป. สนอย. วพ. สบส. ผู้ตรวจราชการเขต & จังหวัด 1. กำหนดหลักเกณฑ์ในการ จัดซื้อยาร่วมระดับเขต 1. กำหนดรายยาที่จะซื้อร่วม 2. กำหนดคุณลักษณะเฉพาะยา 2. ขึ้นทะเบียนบริษัทคู่ค้า 3. พิจารณาราคายาที่จะซื้อ แต่ละรายการ 3. ดำเนินการต่อรองราคาในรายการยาที่มีผู้ผลิตหรือจำหน่ายน้อยราย 4. หน่วยงานต่าง ๆ จัดซื้อตามที่ได้ตกลงไว้ในยาแต่ ละรายการ 4. จัดระบบการสุ่มตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพยา 5. รายงานผลการดำเนินการ 5. ศูนย์ข้อมูลส่วนกลาง กสธ. แจ้งข้อมูลราคาและผลการวิเคราะห์คุณภาพยา

  26. ระเบียบการจัดซื้อยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2543 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2546

  27. สาระสำคัญ • เวชภัณฑ์ แบ่งออกเป็น ยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา • 2. การบริหารยา : คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด • 3. ผู้อำนวยการ รพ.เป็นประธาน เภสัชกร เป็นเลขานุการ • 4. การบริหารเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา : คณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา • 5. ผู้อำนวยการ รพ. เป็นประธาน เภสัชกร ไม่จำเป็นต้องเป็นเลขานุการ

  28. 6. การจัดซื้อยาจะต้องจัดซื้อจากผู้ขายที่ได้รับใบอนุญาตขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา 7. การจัดซื้อยาแผนปัจจุบันที่ผลิตในประเทศ สถานที่ผลิตยาจะต้องได้ใบรับรองมาตรฐานการผลิตยาตาม GMP ในหมวดยาที่เสนอขาย 8. ยาที่จัดซื้อจะต้องได้รับการขึ้นทะเบียนตำรับยา ตามกฎหมายว่าด้วยยา 9. กรณียาที่จัดซื้อเป็นยานำเข้า สถานที่ผลิตยาจะต้องได้ใบรับรองมาตรฐานการผลิตยาตาม GMP จากประเทศที่ผลิตและได้รับอนุญาตให้นำเข้า รวมทั้งได้ขึ้นทะเบียนตำรับยา

  29. 10.ให้หน่วยราชการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน มีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ที่มีมูลค่าสูงให้ดำเนินการจัดซื้อรวม 11. ให้มีหนังสือรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ยาทุกรุ่นที่ส่งมอบจากผู้ผลิต 12. ให้หน่วยราชการรายงานผลการจัดซื้อยาหรือเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาให้กับศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาของกระทรวงสาธารณสุข

  30. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2543 1. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด คณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา กรรมการ 2. 3. บัญชีรายการยา/เวชภัณฑ์ฯ แผนจัดซื้อยาประจำปี หลักเกณฑ์ฯ 4. จัดซื้อตามระเบียบพัสดุฯ จัดซื้อรวม 5. 6. รายงาน 7. ใบรับรองตรวจวิเคราะห์ยาทุกรุ่น สุ่มส่งตรวจวิเคราะห์ ศูนย์ข้อมูล กสธ.

  31. http:://dmsic.moph.go.th

  32. ขอบคุณที่ให้ความสนใจ Q&A ภก.กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ kittipitak@ gmail.com

More Related