310 likes | 731 Views
รหัสวิชา 02190551. กระบวน ทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร ( HCRD Paradigm in Organization ) รศ. น.ท. ดร.สุมิตร สุวรรณ. เทคนิคการพัฒนาองค์กร. การปรับรื้อระบบ (reengineering) การคิดใหม่ (rethinking) การออกแบบใหม่ (redesign) การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ (reorganization)
E N D
รหัสวิชา 02190551 กระบวนทัศน์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร (HCRD Paradigm in Organization) รศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ
เทคนิคการพัฒนาองค์กร • การปรับรื้อระบบ (reengineering) • การคิดใหม่ (rethinking) • การออกแบบใหม่ (redesign) • การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ (reorganization) • การเทียบเคียงมาตรฐาน (benchmarking) • การมอบอำนาจ (empowering) • การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)
การปรับรื้อระบบ (reengineering) Michael Hammer James Champy • การคิดใหม่ • การออกแบบใหม่อย่างถอนรากถอนโคน • เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงการปฏิบัติงาน • ราคา คุณภาพ การบริการ และความรวดเร็ว
การปรับรื้อระบบ (reengineering) ศิริชัย สายพัฒนา 1.Hard Ware:การปรับโครงสร้างองค์กร(restructure) 2.Soft Ware:การจัดขบวนการทำงาน(reprocess) 3.People Ware:การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากร
การปรับรื้อระบบ (reengineering) • ดร.รุ่ง แก้วแดง • การพิจารณาทบทวน (rethinking) • การออกแบบใหม่ (redesign) • เริ่มตั้งแต่การกำหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน • งานบางอย่างอาจใช้วิธีจ้างเอกชนทำ • ลดขั้นตอนให้สั้นลง/ให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว • มีการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • กำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน
การปรับรื้อระบบ (reengineering) องค์กรหลังดำเนินการรีเอ็นจิเนียริ่ง 1.งานจะถูกรวมเป็นงานเดียว/ที่เดียว 2.งานถูกดำเนินการโดยทันที 3.งานมีหลายมิติและเพิ่มความลึกมากขึ้น 4.พนักงานจะเป็นผู้ตัดสินใจ 5.ขั้นตอนทำให้ยืดหยุ่น ไม่ต้องทบทวนใหม่ทุกขั้นตอน
การปรับรื้อระบบ (reengineering) องค์กรหลังดำเนินการรีเอ็นจิเนียริ่ง 6.การตรวจสอบและการควบคุมจะลดลง 7.การไกล่เกลี่ยแทบจะไม่เกิดขึ้น 8.การวัดผลและค่าตอบแทนดูที่ผลลัพธ์ 9.ผู้จัดการเปลี่ยนจากกำกับเป็นผู้ชี้แนะ 10.โครงสร้างองค์กรตามลำดับชั้นเปลี่ยนเป็นแบนราบ
การปรับรื้อระบบ (reengineering)
การคิดใหม่ (rethinking) Rowan Gibson Rethinking the Future “คิดใหม่เพื่ออนาคต”
การคิดใหม่ (rethinking) การบริหารจัดการที่มีต่อโลกยุคใหม่ 1.มองหลักการในวิถีทางที่แตกต่าง/สร้างสรรค์ 2.ด้านการแข่งขัน -เน้นการใช้ยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความได้เปรียบ -หัวใจของยุทธศาสตร์อยู่ที่ความมีเอกลักษณ์ 3.ด้านการควบคุมและความสลับซับซ้อน -การบริหารไม่เป็นแบบรูปเจดีย์หรือพีระมิด -ผู้บริหารจะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้คำแนะนำ/สนับสนุน -แยกงานออกเป็นกลุ่มๆ ที่สามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
การคิดใหม่ (rethinking) 4.ด้านความเป็นผู้นำ - ยึดมั่นในจรรยาบรรณ/หลักความถูกต้อง - พร้อมที่จะรับฟังผู้อื่น - เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา - มีมันสมองปราดเปรื่อง - ทุ่มเททุกอย่างเพื่อเดินไปตามทางที่วางไว้ - เสมอต้นเสมอปลาย มีความจริงใจ
การคิดใหม่ (rethinking) 5.ด้านตลาด - จุดประกายให้ลูกค้าเห็นว่า สินค้ายี่ห้อนี้มีอะไรเด่น - ผู้บริหารสูงสุด/ซีอีโอ ต้องทำการตลาดด้วย - คนส่วนมากต้องการความสนุกสนานเพลิดเพลิน - แยกแยะ/เจาะตลาดให้ตรงเป้า เช่น คนรวย/คนจน
การคิดใหม่ (rethinking) 6.ด้านโลกกว้าง - ไม่ถูกครอบงำด้วยบริษัทข้ามชาติขนาดยักษ์ - เครือข่ายของผู้ประกอบการอิสระและบริษัทขนาดเล็ก - ศูนย์กลางจะย้ายไปอยู่ทางทวีปเอเชียแทนตะวันตก - มหาอำนาจจะร่วมมือกันตั้งกติกาการแข่งขัน - ประเทศที่มีระบบการศึกษาอ่อนแอจะไม่มีโอกาส - ความได้เปรียบเสียเปรียบจะขึ้นอยู่กับพลังทางปัญญา
การออกแบบใหม่ (redesign) • การทำงานให้ง่าย • การหมุนเวียนงาน • การขยายเนื้อหาของงาน • การจัดโครงสร้างของงาน • ขจัดความซ้ำซ้อน/สภาพการทำงาน
การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization)การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization) 1.การลดขนาด (downsizing) - การทำให้องค์กรมีขนาดเล็กลง/เหมาะสม - การลดพนักงานเพื่อลดค่าใช้จ่าย/ความอยู่รอด - การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นเอกชน (privatization) - โครงการเกษียณก่อนอายุ (early retirement)
การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization)การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization) 2.การยกเลิกระดับชั้น - การทำให้สายการบังคับบัญชาสั้นลง - องค์กรจะมีลักษณะแบนราบมากขึ้น - ทุกคนสามารถสื่อความหมายโดยตรงกับทุกคน - ใช้เทคโนโลยี เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ Email, Blogs, Facebook, Twitter, You tubes…
การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization)การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization) 3.การลดกฎระเบียบ (deregulation) - ยกเลิกกฎเกณฑ์ต่างๆ ทำให้งานคล่องตัว - ลดการเป็นผู้อนุญาต/อนุมัติจากรัฐ เป็นการกำกับดูแล
การเทียบเคียงมาตรฐาน (benchmarking) • การวัดผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการกับคู่แข่งขัน • ที่เข้มแข็งที่สุด • นำผลมาปรับปรุงองค์กรตนเอง/มุ่งสู่ความเป็นเลิศ • กำหนดตัววัด KPI จะเปรียบเทียบกับใคร เรื่องใด • แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่ดี/เป็นเลิศ • (Best Practices)
การมอบอำนาจ (empowering) • บุคลากรได้รับการส่งเสริมให้ใช้การริเริ่มของเขา • พนักงานถูกมอบอำนาจให้สามารถตัดสินใจได้ • การเข้าถึงข่าวสารข้อมูล • พยายามทำให้ดีที่สุดด้วยความรับผิดชอบ
การรักษาราชการแทน • การปฏิบัติราชการแทน
การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) หลักการของ Total Quality Management 1.ค้นหาความต้องการของลูกค้า 2.ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 3.ปรับปรุงคุณภาพของทุกสิ่งทุกอย่าง 4.การวัดอย่างถูกต้องจะใช้วิธีการทางสถิติ 5.ให้อำนาจแก่บุคคลในการมีส่วนร่วมปรับปรุงให้ดีขึ้น Edwards Deming ชาวอเมริกัน
การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) ค่านิยมร่วมที่บุคคลทุกคนในองค์กรจะต้องมี คือ 1.ลูกค้าภายในสำคัญเท่ากับลูกค้าภายนอก 2.ตอบสนองต่อข้อเรียกร้องของลูกค้าภายในวันนั้น 3.รับโทรศัพท์ที่เสียงดังไม่เกิน 2 ครั้ง 4.ลูกค้าถูกต้องเสมอ 5.บุคคลทุกคนต้องเกี่ยวข้องกับคุณภาพ 6.ปรับปรุงคุณภาพของบุคคลทุกคน 7.ไม่เคยพอใจกับคุณภาพ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 8.ทีมงานและความร่วมมือจะสำคัญกว่าบุคคล ลูกค้า คือ... พระเจ้า
การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) วงจรเด็มมิ่ง/วัฏจักร PDCA มี 4 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การวางแผน (Plan - P) ขั้นที่ 2 การปฏิบัติตามแผน (Do - D) ขั้นที่ 3 การตรวจสอบผลการปฏิบัติการ (Check - C) ขั้นที่ 4 การแก้ไขปัญหา (Action - A)
การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) • การนำ TQMมาใช้ในการบริหารงานภาครัฐ • เพื่อ “ประสิทธิภาพ” และ “ประสิทธิผล” • สร้างความพึงพอใจและความเป็นธรรม • ให้เกิดขึ้นแก่ประชาชน
การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) ความล้มเหลวของ TQMมักเกิดจาก... 1.บุคลากรไม่รู้จริง 2.ขาดความจริงจังต่อเนื่อง 3.งานประจำล้นมือ 4.คนไทยใจร้อน 5.คนไทยเบื่อง่าย
การจัดการความรู้ (KM) • การสร้างและแสวงหาความรู้ • การจัดเก็บความรู้ให้เป็นระบบ • การเผยแพร่ให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายและสะดวก เช่น IT • การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
การบริหารความเสี่ยง • การวิเคราะห์ ประเมิน โดยระบุว่าอะไรที่จะทำให้เกิดความเสียหายต่อองค์กร • หาวิธีการดูแล ตรวจสอบ และควบคุมความเสี่ยง เพื่อให้องค์กรลดความเสียหายจากความเสี่ยงนั้น • ให้มากที่สุด