770 likes | 1.29k Views
การตรวจสอบเงินลงทุน. ประเด็น. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน. การ ตรวจสอบ. การตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ. รายงานการสอบบัญชี. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน. 1. 2. 3. 4. 4. ความหมายและประเภทเงินลงทุน. กฎหมาย ระเบียบ คำแนะนำที่เกี่ยวข้อง. บัญชีและการควบคุมภายใน.
E N D
ประเด็น ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน การ ตรวจสอบ การตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ รายงานการสอบบัญชี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 1 2 3 4 4 ความหมายและประเภทเงินลงทุน กฎหมาย ระเบียบ คำแนะนำที่เกี่ยวข้อง บัญชีและการควบคุมภายใน ความเสี่ยงในการสอบบัญชี ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจและความเข้าใจระบบบัญชีและการควบคุมภายใน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 1 ความหมายและประเภทเงินลงทุน เงินลงทุนของสหกรณ์ หมายถึง • หลักทรัพย์ตามกฎหมายและตามประกาศของ คพช. ที่สหกรณ์ถือไว้ เพื่อได้รับผลประโยชน์ในรูปของรายได้ เช่น • ดอกเบี้ย ค่าสิทธิ เงินปันผล • ราคาที่เพิ่มขึ้น • ประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับ เช่น ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ** เงินลงทุนไม่รวมถึง สินค้าคงเหลือ ที่ดินฯที่เป็นการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 1 ความหมายและประเภทเงินลงทุน ประเภทเงินลงทุน แบ่งได้ ดังนี้ 3 2 1 • ตามสิทธิของผู้ลงทุน • ในกิจการที่ออกตราสาร • 2 ประเภท คือ • ตราสารทุน • ตราสารหนี้ • ตามรูปแบบการลงทุน • 2 ประเภท คือ • ลงทุนโดยตรง • ลงทุนผ่านบริษัท จัดการกองทุน * กองทุนรวม * กองทุนส่วนบุคคล • ตามวัตถุประสงค์ในการถือหลักทรัพย์ 4 ประเภท • หลักทรัพย์เพื่อค้า • หลักทรัพย์เผื่อขาย • ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด • เงินลงทุนทั่วไป
ข้อดีของการลงทุนผ่าน บลจ. 1. บริหารโดยมืออาชีพ คือ“บริษัทหลักทรัพย์กองทุนรวม" (บลจ.) หรือ “บริษัทจัดการ” ซึ่งมีความรู้ ประสบการณ์สามารถวิเคราะห์ รวมถึงวางแผนการลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ และมีอำนาจในการต่อรองสูง 2. กระจายความเสี่ยงเนื่องจากนำเงินไปลงทุนในตราสารทางการเงินที่หลากหลายเพื่อกระจายและช่วยลดความเสี่ยง 3. มีสภาพคล่อง สามารถเปลี่ยนหน่วยลงทุนที่ถืออยู่ให้เป็นเงินสดได้ด้วยการขายหน่วยลงทุนคืนบลจ. หรือในตลาดหลักทรัพย์ก็ได้
ข้อดีของการลงทุนผ่าน บลจ. 4. มีทางเลือกในการลงทุนกองทุนรวมแต่ละกองมีนโยบายเฉพาะตัวในการลงทุน ซึ่งผู้ลงทุนสามารถเลือกนโยบายที่เหมาะสมกับตนเองได้ 5. มีกลไกป้องกันผู้ลงทุน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เป็นผู้กำหนดกฎเกณฑ์ในการทำธุรกิจ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ลงทุนเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นต่อการตัดสินใจลงทุน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ลงทุนถูกเอาเปรียบ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 1 ความหมายและประเภทเงินลงทุน การลงทุนผ่านบริษัทจัดการกองทุน (บลจ.) กองทุนรวม กองทุนส่วนบุคคล เป็นการระดมเงินจากผู้ลงทุน รายย่อย โดยการจำหน่าย หน่วยลงทุน โดยจัดตั้งเป็น กองทุนรวม จดทะเบียนกับ สำนักงาน ก.ล.ต. ** การลงทุนเป็นตามนโยบาย การลงทุนที่ บลจ. ได้เสนอ ผู้ลงทุนไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ บุคคล/คณะบุคคลหรือนิติบุคคล ซึ่งเป็นผู้ลงทุน มอบให้ บลจ. เป็นผู้บริหารเงินลงทุนนั้นให้ ผู้ลงทุนมีส่วนร่วมในการกำหนด นโยบายการลงทุนร่วมกับ บลจ. ** ต้องมีการทำหนังสือสัญญา ซึ่งระบุข้อตกลงระหว่างกัน
ประเภทของกองทุนรวม แบ่งตามลักษณะการจัดจำหน่ายและการไถ่ถอนคืน ได้ 2 ประเภท คือ 1 2 กองทุนเปิด กองทุนปิด เป็นกองทุนที่เปิดขายครั้งเดียวเมื่อเริ่มโครงการหลังจากนั้นผู้ลงทุนจะไถ่ถอนเงินลงทุนเมื่อครบอายุโครงการ เช่น 3 ปี 5 ปี เน้นการลงทุนในตราสารทุน และส่วนใหญ่จะจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ราคาขายหน่วยลงทุนสูง/ต่ำขึ้นอยู่กับมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (NAV)เป็นรายวัน (สินทรัพย์กองทุน + รายได้ – ค่าใช้จ่าย) เหมาะสำหรับ นักลงทุนที่ต้องการผลตอบแทนสูง และยอมรับ ความเสี่ยงได้สูงด้วย ในการลงทุนต้องพิจารณาเกี่ยวกับระยะเวลาของกองทุนว่าเหมาะสมกับระยะเวลาที่ต้องการหรือไม่ เนื่องจากเป็นการลงทุนระยะยาว และมีสภาพคล่องในการซื้อขายน้อย ตัวอย่าง เช่น กองทุนรวมวายุภักษ์หนึ่ง ก เป็นกองทุนที่เปิดขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุนเป็นระยะๆ หรือเปิดทุกวันทำการ นโยบายการลงทุนเน้นลงทุนในตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงินและเงินฝาก เป็นหลัก การลงทุนมีความเสี่ยงต่ำ มีรายได้ประจำจากดอกเบี้ย มีค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุนประมาณ 1% ของเงินลงทุน กองทุนประเภทนี้เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ตัวอย่าง เช่น •กองทุนเปิดทหารไทยธนรัฐ •กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 2 กฎหมาย ระเบียบ คำแนะนำที่เกี่ยวข้อง การลงทุนของสหกรณ์ ต้องลงทุนในหลักทรัพย์ตาม ประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ม.62 +
การฝากหรือลงทุน ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 (1) ฝากในชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น ตัวอย่าง α ลงทุนในบัตรเงินฝาก/ตั๋วสัญญาใช้เงินของชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์ โดยผู้ออกมีวัตถุประสงค์ตามระเบียบฯ เพื่อรับฝากเงิน เป็นการลงทุนตาม ม. 62(1)ตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ ที่ กษ 1109/28 ลว. 13 มิ.ย. 54
การฝากหรือลงทุน ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 (2) ฝากในธนาคาร หรือฝากในสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ ตัวอย่าง α ลงทุนในบัตรเงินฝาก/สลากออมสิน/สลากออมทรัพย์ ทวีสิน เข้าข่ายการนำเงินฝากธนาคาร เป็นการลงทุนตาม ม. 62 (2) ตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ กษ 1115/059 ลว. 22 ก.ค. 53และแสดงรายการในงบการเงินเป็นเงินฝากธนาคาร ตามหนังสือกตส. ที่ กษ 0402/ว.43 ลว. 4 ต.ค. 49
การฝากหรือลงทุน ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 (3) ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ** หลักทรัพย์ (ตาม พ.ร.บ. ตลาดหลักทรัพย์ฯ) หมายถึง ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้น หุ้นกู้ หน่วยลงทุน ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นหรือหุ้นกู้ ตัวอย่าง αลงทุนในหุ้นสามัญ/หุ้นกู้ บมจ. ธนาคารกรุงไทย / บมจ.การบินไทย / การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เป็นการลงทุน ในหลักทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจ ตาม ม. 62 (3) ซื้อ หลักทรัพย์ ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ (คำแนะนำท้ายประกาศ คพช. ลว 16 พ.ย. 52)
การฝากหรือลงทุน ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 (4) ซื้อหุ้นของธนาคาร ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ ตัวอย่าง α ลงทุนในหุ้น ธกส. เป็นการลงทุนตาม ม.62 (4) ตามหนังสือ กรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ กษ 1108/5389 ลว. 9 พ.ค. 48 (หนังสือสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ นร 0901/0328 ลว.11 มี.ค. 2548)
การฝากหรือลงทุน ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 (5) ซื้อหุ้นชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น (6) ซื้อหุ้นของสถาบันที่ประกอบธุรกิจอันทำให้เกิดความสะดวกหรือส่งเสริมความเจริญแก่กิจการสหกรณ์โดยได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ตัวอย่าง α ลงทุนในหุ้น ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย จำกัด เป็นการลงทุนตาม ม.62 (6) ตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ ที่ กษ 1109/4883 ลว. 25 เม.ย. 48 (7) ฝากหรือลงทุนอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการพัฒนาการ สหกรณ์แห่งชาติกำหนด**
การฝากหรือลงทุนตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) • ใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ออกประกาศ 16 พ.ย. 52 ประกาศ คพช. เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ. 2552 ข้อ 2 “ตราสารแสดงสิทธิในหนี้” หมายความว่า ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หุ้นกู้ที่มีหลักประกัน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ
การฝากหรือลงทุนตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) • ใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ออกประกาศ 16 พ.ย. 52 ข้อ 3 เงินของสหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ ดังต่อไปนี้ (1) บัตรเงินฝากที่ธนาคารเป็นผู้ออก (2) ตั๋วแลกเงินที่ธนาคารเป็นผู้รับรอง สลักหลังหรือรับอาวัล หรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่ธนาคารเป็นผู้สลักหลัง หรือรับอาวัลโดยไม่มีข้อจำกัด ความรับผิดชอบ (3) ตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่ธนาคารซึ่งมิใช่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ออก ** ประกาศ คพช. (ต่อ)
ตัวอย่างการลงทุนในหุ้นกู้ ตามประกาศ คพช. ข้อ 3 (3) หุ้นกู้ บมจ.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ไม่ด้อยสิทธิ (A -) หุ้นกู้ บมจ.ธนาคารกรุงเทพไม่ด้อยสิทธิ(A -) หุ้นกู้ บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์ ไม่ด้อยสิทธิ (A -)
การฝากหรือลงทุนตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) • ใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ออกประกาศ 16 พ.ย. 52 ข้อ 3 เงินของสหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ ดังต่อไปนี้ ( 6 ) หุ้นกู้ที่มีหลักประกัน หรือ หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ์ ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ระดับ A - ขึ้นไป จากบริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์** ประกาศ คพช. (ต่อ)
ตัวอย่างการลงทุนในหุ้นกู้ ตามประกาศ คพช. ข้อ 3 (6) หุ้นกู้ บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ ไม่ด้อยสิทธิ(A -) หุ้นกู้ บมจ. เหมราชพัฒนาที่ดิน ไม่ด้อยสิทธิ (A -) หุ้นกู้ บมจ.บัตรกรุงไทย ไม่ด้อยสิทธิ (A -)
การฝากหรือลงทุนตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) • ใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ออกประกาศ 16 พ.ย. 52 ข้อ 3 เงินของสหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ ดังต่อไปนี้ (7) ฝากหรือลงทุนอื่นใด นอกจากที่กำหนดไว้ตาม (1) ถึง ( 6 ) โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติก่อน และการฝากหรือลงทุนตามข้อนี้รวมกันต้อง ไม่เกินทุนสำรองของสหกรณ์ และต้องผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ ของสหกรณ์ก่อนจึงจะดำเนินการได้ หุ้นกู้
ตัวอย่าง การลงทุน ตามประกาศ คพช. ข้อ 3(7) หุ้นกู้ บมจ. ธนาคารทิสโก้ ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน (A -) หุ้นกู้ บมจ. ธนาคารธนชาต ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน (A -) หุ้นกู้ บมจ. ธนาคารทหารไทย ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน (A -)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 3 บัญชีและการควบคุมภายใน ทำความเข้าใจบัญชีและการควบคุมภายใน กิจกรรมในวงจรเงินลงทุนและบัญชีที่เกี่ยวข้อง เอกสารหลักฐานประกอบที่สำคัญและการควบคุมภายในที่ควรมี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 3 บัญชีและการควบคุมภายใน กิจกรรมในวงจรเงินลงทุน ประกอบด้วย การซื้อเงินลงทุน การรับรู้รายได้จากเงินลงทุน การขายเงินลงทุน กำไร(ขาดทุน)จากการปรับมูลค่าและ การจัดประเภทเงินลงทุน การเก็บรักษาเงินลงทุน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 3 บัญชีและการควบคุมภายใน รายการบัญชีที่เกี่ยวข้อง
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 3 บัญชีและการควบคุมภายใน เอกสารหลักฐานประกอบที่สำคัญและการควบคุมภายในที่ควรมี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสอบเงินลงทุน 4 ความเสี่ยงในการสอบบัญชี เช่น > เงินลงทุนมีจำนวนเงินสูง > ความซับซ้อนของการบันทึกบัญชี มีโอกาสผิดพลาดได้ง่าย** การจัดประเภทเงินลงทุน ไม่เหมาะสม การรับรู้รายได้ (งด/ยกเว้น/การรับรู้ไม่ตรงงวดเวลา) การแสดงมูลค่า/ตีราคา(ความยากในการพิจารณาราคา) การเปิดเผยข้อมูลไม่เพียงพอ > การลงทุนไม่เป็นไปตามกฎหมาย > การเก็บรักษาไม่เหมาะสม มีโอกาสที่เงินลงทุนสูญหายสูง > ความรู้ ความชำนาญของคณะกรรมการฯ/เจ้าหน้าที่ ฯลฯ
1 2 3 4 วิธีการตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ ข้อพิจารณาในการกำหนดวิธีการตรวจสอบ ประเภทและวัตถุประสงค์การตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ กระดาษทำการที่เกี่ยวข้อง
วิธีการตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบวิธีการตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ 1 ข้อพิจารณาในการกำหนดวิธีการตรวจสอบ นำผลการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมมาพิจารณา ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงกลาง มีจุดอ่อนของการควบคุม ไม่ต้องทดสอบการ ควบคุม ให้ตรวจสอบเนื้อหา สาระเพียงอย่างเดียว ในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดับต่ำพอที่จะยอมรับได้ ให้ทดสอบการควบคุมเพื่อทราบประสิทธิภาพของระบบการควบคุม ภายในและลดปริมาณการตรวจสอบเนื้อหาสาระ ให้ทดสอบการควบคุม เพื่อทราบประสิทธิภาพ ของระบบการควบคุม ภายในและตรวจสอบ เนื้อหาสาระสำหรับ เรื่องที่มีจุดอ่อน
2 การตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ ประเภทและวัตถุประสงค์การตรวจสอบ การตรวจสอบข้อมูลทางบัญชีในวงจรเงินลงทุน แบ่งได้เป็น การตรวจสอบรายการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี การตรวจสอบยอดคงเหลือ
2 การตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ ประเภทและวัตถุประสงค์การตรวจสอบ รายการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี
2 การตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ ประเภทและวัตถุประสงค์การตรวจสอบ การตรวจสอบยอดคงเหลือ
3 การตรวจสอบและหลักฐานการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ วิเคราะห์เปรียบเทียบ ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสารหลักฐาน ตรวจดู / ตรวจนับเงินลงทุน ขอคำยืนยันยอด ตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล • สังเกตการณ์การเก็บรักษาเงินลงทุน ( ผู้เก็บ /สถานที่/วิธีการ ) • การสอบถาม
การวิเคราะห์เปรียบเทียบการวิเคราะห์เปรียบเทียบ • เปรียบเทียบยอดเงินลงทุน/ผลตอบแทน • ปีปัจจุบันกับปีก่อน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสำคัญ หากมีให้ติดตามสอบถามสาเหตุ • เงินลงทุน ควรวิเคราะห์เปรียบเทียบตั้งแต่ยอดยกมา ยอดเพิ่ม-ลดระหว่างปี และยอดคงเหลือ
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ประกอบด้วย การตรวจสอบ • ยอดยกมา • เอกสารหลักฐานการซื้อ - ขายหลักทรัพย์ / การปรับมูลค่า ว่าถูกต้อง ครบถ้วน / สมบูรณ์ • ตรวจสอบการลงทุนว่าเป็นไปตามกฎหมาย ? • การคำนวณและบันทึกบัญชี
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ตรวจสอบยอดยกมา เปรียบเทียบ ยอดยกมาในงบทดลองว่า ตรงกับ - งบการเงินปีก่อน/กระดาษทำการปีก่อน - ยอดคงเหลือบัญชีแยกประเภทของสหกรณ์ ? - ยอดตามรายละเอียดในทะเบียนคุมเงินลงทุน
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ตรวจสอบเอกสารการซื้อ การขาย หลักทรัพย์ ในระหว่างงวดเพื่อให้แน่ใจว่า (1) เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด (2) มีการอนุมัติถูกต้อง (3) มีหลักฐานประกอบครบถ้วน ถูกต้อง (4) จัดทำทะเบียนหลักทรัพย์เป็นปัจจุบัน (5) จัดประเภทเงินลงทุนเหมาะสม
หลักฐานการซื้อขายเงินลงทุนหลักฐานการซื้อขายเงินลงทุน • ใบเสนอราคาหลักทรัพย์/หนังสือชี้ชวน • ใบยืนยันการซื้อ-ขายหลักทรัพย์ • ใบเสร็จรับเงิน/ใบชำระราคาหลักทรัพย์จากตัวแทนค้าหลักทรัพย์ • ต้นขั้วเช็ค/สำเนาใบนำฝากธนาคาร/ใบแจ้งยอดธนาคาร • หนังสือแจ้งการจ่ายเงินปันผล/ดอกเบี้ยจ่าย ฯ • หนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินปันผล/ดอกเบี้ยจ่าย
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ตรวจสอบเอกสารการปรับมูลค่าเงินลงทุน ดังนี้ (1) นโยบายถือหลักทรัพย์ของสหกรณ์ (2) หลักฐานการปรับมูลเงินลงทุน เช่น มูลค่า ยุติธรรม/ราคาทุนตัดจำหน่าย (ตารางตัดจำหน่าย) (3) ทดสอบการคำนวณ
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี •ตรวจสอบการลงทุนว่าเป็นไปตามกฎหมาย ? พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. 2542 และประกาศ คพช. การลงทุนนอกเหนือจาก ประกาศ คพช. เป็นตาม ข้อกำหนด ทุกข้อ ดังนี้ (1) ได้รับความเห็นชอบจาก คพช. (2) ได้ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ (3) ไม่เกินทุนสำรองของสหกรณ์
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ตรวจสอบการบันทึกบัญชี การซื้อ - ความเหมาะสมของการบันทึกราคาทุน** ของเงินลงทุนตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปและ นทส.กำหนด - ตรงตามหลักฐานประกอบการซื้อและ การชำระเงิน
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ตรวจสอบการบันทึกบัญชี การขายเงินลงทุน - ตรงตามหลักฐานการขายและการรับชำระเงิน - ทดสอบการคำนวณกำไร(ขาดทุน)จากการขาย - ตรวจสอบการบันทึกกำไร(ขาดทุน)จากการขาย
ตรวจสอบความสมบูรณ์ / ความถูกต้องของเอกสาร ใบสำคัญการรับ-จ่ายเงินและการบันทึกบัญชี • ตรวจสอบการบันทึกบัญชี การบันทึกรายได้ - ตรวจสอบการบันทึกรายได้ เช่น เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ว่าเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และ นทส.กำหนด หรือไม่ - มีหลักฐานประกอบการบันทึกผลตอบแทน ครบถ้วน ถูกต้อง - ทดสอบการคำนวณรายได้
ตรวจดู/ตรวจนับเงินลงทุนตรวจดู/ตรวจนับเงินลงทุน • ตรวจดู / ตรวจนับเงินลงทุน • เช่น ตั๋วสัญญาใช้เงิน /ตั๋วแลกเงิน/พันธบัตร /ใบหุ้นกู้/หนังสือ • รับรองสิทธิในหน่วยลงทุน - เงินลงทุนเป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ หลักทรัพย์เป็นชื่อสหกรณ์ - มีรายการและจำนวนเงินถูกต้องตรงตามทะเบียนคุม บัญชีแยกประเภทและหมายเหตุประกอบงบการเงินหรือไม่ ?
ขอยืนยันยอด • ขอยืนยันยอด • ควรทำหนังสือขอยืนยันยอดจากบุคคลภายนอกที่เก็บรักษาหรือผู้เกี่ยวข้อง ในกรณีต่อไปนี้ - หลักทรัพย์ที่ลงทุนฝากผู้อื่นเก็บรักษา • เป็นหลักประกัน/ค้ำประกัน • อยู่ระหว่างการโอนกรรมสิทธิ์มาเป็นของ • สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล คำแนะนำ กตส. เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน พ.ศ. 2544 กตส.ที่ กษ 0404/2800 ลว. 25 ก.ย. 45 เรื่อง หารือเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติการบัญชีเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่บริหารโดยกองทุนรวม กตส.ที่ กษ 0402/3208 ลว. 25 พ.ย. 51 เรื่อง ตอบหารือเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางบัญชี (ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด)
ตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด อยู่ในความต้องการของตลาด ราคาทุน จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์เพื่อค้า (สินทรัพย์หมุนเวียน) แสดงกำไรหรือขาดทุน ที่ยังไม่เกิดขึ้นเป็น รายได้ในงวด ใช้วิธีราคาทุน ตัดจำหน่าย ตีราคาและแสดงใน งบดุลด้วยมูลค่า ยุติธรรม ตั้งใจจะถือจนครบกำหนดหรือไม่? ไม่ใช่ ใช่ ใช่ จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์ที่จะถือจน ครบกำหนด แสดงกำไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่ เกิดขึ้นในส่วนทุน ของสหกรณ์ จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์ เผื่อขาย (สินทรัพย์หมุนเวียน หรือไม่หมุนเวียน) ตีราคาและแสดง ในงบดุลด้วยมูลค่า ยุติธรรม ไม่ใช่ ใช้วิธีมูลค่า ยุติธรรม ถือไว้เพื่อขายในงวด หรือไม่ ? ตราสารทุน ตราสารหนี้
มูลค่าเงินลงทุน ราคาที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กัน โดยที่ทั้งสองฝ่ายมีความรู้ เต็มใจและสามารถต่อรองกันได้ อย่างอิสระในลักษณะของผู้ไม่เกี่ยวข้องกัน เช่น ราคาปิด/ราคาที่เสนอซื้อครั้งสุดท้าย ราคายุติธรรม ราคาทุนเริ่มแรก**XX หัก เงินต้นจ่ายคืน X บวก/หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม X (ส่วนลด/ส่วนเกิน) ราคาทุนตัดจำหน่าย XX ราคาทุนตัดจำหน่าย ผลต่างระหว่าง ราคาทุน/ทุนตัดจำหน่าย กับ มูลค่ายุติธรรม กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้น
ตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล • การเปิดเผยข้อมูล - นโยบายการถือเงินลงทุนของสหกรณ์ - นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการตีราคา เงินลงทุน/การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน - กำไร (ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้น - ภาระผูกพันหรือค้ำประกัน - การลงทุนไม่เป็นไปตามกฎหมาย - อื่น ๆ เช่น อยู่ระหว่างชำระบัญชี/ล้มละลาย/ผิดนัดชำระดอกเบี้ยหรือเงินต้น