1 / 38

การประเมินค่าอัตราพันธุกรรม

การประเมินค่าอัตราพันธุกรรม. โดย ผศ . ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชา สัตว ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรม. มี 2 วิธีหลักๆ คือ Sire-offspring regression analysis 1.1 One-Parent Regression 1.2 Midparents -offspring Regression 2. Sib analysis

zeno
Download Presentation

การประเมินค่าอัตราพันธุกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม มี 2 วิธีหลักๆ คือ • Sire-offspring regression analysis 1.1One-Parent Regression 1.2Midparents-offspring Regression 2. Sib analysis 2.1 Half sib analysis 2.2 Full sib analysis

  3. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม Sire-offspring regression analysis หลักการ 1. ต้องมีข้อมูลพ่อแม่และลูกที่สมบรูณ์จึงจะสามารถวิเคราะห์หา ค่าอัตราพันธุกรรมได้ 2. ใช้หลักการของสมการถดถอยในการคำนวณหาค่าอัตรา พันธุกรรม

  4. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม One parent-offspring regressionMidparents-offspring regression Sire Dam Sire Dam offspring offspring or offspring

  5. One parent-offspring regression Ex. สมมุติให้น้ำหนักแรกเกิดของโคบราห์มันที่เกิดจากพ่อพันธุ์แต่ละตัวเป็นดังนี้

  6. สมการวิเคราะห์หาค่าอัตราพันธุกรรมสมการวิเคราะห์หาค่าอัตราพันธุกรรม สมการสำหรับใช้คำนวณหาค่าอัตราพันธุกรรมมีดังนี้ เมื่อCOV(XY) =Co-variance(Sire,Offspring) VAR(X) = Variance(Sire)

  7. Regression equation One parent-offspring regression ดังนั้น สมการวิเคราะห์

  8. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม ในทางปฏิบัติเราสามารถคำนวณค่าความถดถอยได้จากสูตร

  9. Midparents-offspring regression Ex. สมมุติให้น้ำหนักแรกเกิดของโคบราห์มันที่เกิดจากพ่อพันธุ์แต่ละตัวเป็นดังนี้

  10. สมการวิเคราะห์หาค่าอัตราพันธุกรรมสมการวิเคราะห์หาค่าอัตราพันธุกรรม สมการสำหรับใช้คำนวณหาค่าอัตราพันธุกรรมมีดังนี้ เมื่อCOV(XY) =Co-variance(Parentsmean,Offspring) VAR(X) = Variance(Parentsmean)

  11. Regression equation One parent-offspring regression ดังนั้น สมการวิเคราะห์

  12. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม Sib analysis หลักการ 1. ต้องมีข้อมูลบันทึกจากลูกจึงจะสามารถวิเคราะห์หา ค่าอัตราพันธุกรรมได้ 2. ใช้หลักการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมร่วมระหว่างพี่ น้องโดยวิธีวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวน (ANOVA) 3.แยกปัจจัยอื่นๆออกจากปัจจัยเนื่องจากพันธุกรรม

  13. การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมการประเมินค่าอัตราพันธุกรรม Half sib analysis Full sib analysis S1 D1 D2 D3 D1 D2 O1 O2 O3 O1 O2 O3 O1 O2

  14. Half sib analysis

  15. Half sib analysis

  16. Half sib analysis

  17. Full sib analysis

  18. Full sib analysis

  19. ตัวอย่างการคำนวณ h2แบบ Full sib Ex. จงคำนวณค่าอัตราพันธุกรรมจากตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนที่กำหนดให้ เมื่อมีพ่อพันธุ์จำนวน 50 ตัว พ่อพันธุ์แต่ละตัวผสมกับแม่พันธุ์ 6 ตัว และใช้ลูกจาก แม่พันธุ์แต่ละตัวจำนวน 3 ตัว 17.10 49 1079 10.79 100 2.19 750

  20. ตัวอย่างการคำนวณ h2แบบ Full sib Ex. จงคำนวณค่าอัตราพันธุกรรมจากตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนที่กำหนดให้ เมื่อมีพ่อพันธุ์จำนวน 50 ตัว พ่อพันธุ์แต่ละตัวผสมกับแม่พันธุ์ 6 ตัว และใช้ลูกจาก แม่พันธุ์แต่ละตัวจำนวน 3 ตัว

  21. ค่าอัตราพันธุกรรมใน Full sib  ใช้อัตราพันธุกรรมจากพ่อพันธุ์มากกว่าเนื่องจากเราต้องการประเมินพ่อ ค่าอัตราพันธุกรรมจากพ่อพันธุ์ที่ได้มีความบริสุทธิ์มากกว่าของแม่พันธุ์ แม่พันธุ์มีอิทธิพลของ maternal effect ซึ่งเป็นอิทธิพลที่เราไม่ต้องการ

  22. The useful of heritability h2 ต่ำ สูง ปานกลาง ต้องการ Heterosis หรือไม่ ต้องการ Heterosis หรือไม่ ไม่ ต้องการ ไม่ ต้องการ หลีกเลี่ยง เลือดชิด ผสมภายในพันธุ์ เน้นการจัดการโรงเรือนการให้อาหารการผสมพันธุ์ เน้นการคัดเลือก ผสมข้ามพันธุ์

  23. The useful of heritability ทราบธรรมชาติของลักษณะที่กำลังศึกษา • กำหนดแนวทางการปรับปรุงพันธุ์ • ทำนายผลตอบสนองของการคัดเลือก ช่วยกำหนดแผนการผสมพันธุ์หรือ คัดเลือกพันธุ์

  24. Repeatability ค่าอัตราซ้ำ (t, c2)เป็นค่าที่บอกว่าลักษณะใดๆที่สัตว์ถ่ายทอดทางพันธุกรรม มีประสิทธิภาพหรือความแม่นยำเพียงใด สามารถหาได้จากสมการดังนี้

  25. Repeatability ค่าอัตราซ้ำ (t, c2)จึงหมายถึง อัตราส่วนของความแปรปรวนทางพันธุกรรม และสภาพแวดล้อมถาวรต่อความแปรปรวนของลักษณะปรากฏ

  26. Repeatability ค่าอัตราซ้ำ (t, c2)จึงหมายถึง อัตราส่วนของความแปรปรวนทางพันธุกรรม และสภาพแวดล้อมถาวรต่อความแปรปรวนของลักษณะปรากฏ

  27. Repeatability

  28. Evaluation of Repeatability จะใช้วิธีการวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนเช่นเดียวกับวิธี sib analysis  ส่วนใหญ่จะใช้ข้อมูลผ่านทางแม่ เช่น การให้ผลผลิตน้ำนม จำนวนลูก จำนวนไข่  เนื่องจากแม่มีอิทธิพลของ maternal effectซึ่งจัดเป็น Epอย่างหนึ่ง  แต่สุดท้ายเราต้องการรู้ พันธุกรรม มากกว่า สภาพแวดล้อม

  29. Repeatability analysis

  30. Repeatability analysis Ex.จงประเมินค่าอัตราซ้ำของน้ำหนักแรกเกิดของโคบราห์มัน ซึ่งใช้ข้อมูลน้ำหนักแรกเกิด จากลูกโคจำนวน 135 ตัว จากแม่โคทั้งหมด 45ตัว โดยกำหนดให้แม่โคแต่ละตัวให้ลูกเท่ากัน

  31. The useful of Repeatability • ค่า c2สามารถนำไปประเมินความทางสามารถในการให้ผลผลิตได้ (Expected Real Producing Ability, ERPA or Most Probable Producing Ability, MPPA)

  32. Example of ERPA or MPPA Ex. กำหนดให้ค่าอัตราซ้ำของการให้นมมีค่า 0.5 และการให้นมเฉลี่ยของโคนมฝูงหนึ่ง มีค่า 1150 กก./ระยะการให้นม จงประเมินค่า MPPA ของแม่โค A, B และ C ซึ่งมีประวัติการให้นมดังนี้

  33. Example of ERPA or MPPA Ex. กำหนดให้ค่าอัตราซ้ำของการให้นมมีค่า 0.5 และการให้นมเฉลี่ยของโคนมฝูงหนึ่ง มีค่า 1150 กก./ระยะการให้นม จงประเมินค่า MPPA ของแม่โค A, B และ C ซึ่งมีประวัติการให้นมดังนี้

  34. The useful of Repeatability • ค่า c2สามารถนำไปประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ (Estimated Breeding Value, EBV)

  35. Conclusion Quantitative traits You tell diference of You tell meant of Qualitative traits c2 h2 Quantitative traits Analysis method An example The useful of h2 and c2

  36. สหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม • สหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (genetic correlation; rG) • เกิดจากการที่ยีนตำแหน่งหนึ่งมีผลในการควบคุมลักษณะมากกว่าหนึ่งลักษณะ (pleiotropy)และจากการที่ยีนหรือกลุ่มของยีนที่ควบคุมลักษณะทั้งสองมีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมเดียวกัน (linkage) • สนับสนุนซึ่งกันและกัน (synergistic effect) • แบบตรงกันข้าม (antagonistic effect)

  37. สวัสดี

More Related