1.21k likes | 2.53k Views
การเล่าเรื่อง. ( Story Telling ). วัตถุประสงค์. เพื่อให้เรื่องน่าสนใจ เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ เพื่อให้สามารถนำไปถ่ายทอด. กำหนดกรอบ / แนวคิดของเรื่อง เช่น เรื่องประสบการณ์ , การแก้ปัญหา , เทคนิคการทำงาน ลำดับขั้นตอนให้ชัดเจน เกิดอะไรขึ้น / ใครทำอะไร / ที่ไหน / อย่างไร
E N D
การเล่าเรื่อง (Story Telling)
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เรื่องน่าสนใจ • เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ • เพื่อให้สามารถนำไปถ่ายทอด
กำหนดกรอบ / แนวคิดของเรื่อง เช่น เรื่องประสบการณ์,การแก้ปัญหา, เทคนิคการทำงาน ลำดับขั้นตอนให้ชัดเจน เกิดอะไรขึ้น / ใครทำอะไร / ที่ไหน / อย่างไร เน้นประสบการณ์ตรง หลักการเล่า
หลักการเล่า (ต่อ) บอกผลลัพธ์ การสะท้อนอารมณ์ / เรื่องราว เรียนรู้ร่วมกัน
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้วกาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว การแสดงสถานะว่าเรื่องเล่าได้เริ่มต้น ตัวละครเริ่มเจอสถานการณ์ /ปัญหา /ความก้าวหน้า แล้วอยู่มาวันหนึ่ง ด้วยเหตุนี้เอง เรื่องเล่าเริ่มเปลี่ยนทิศทางตัวละครเพื่อรับมือกับปัญหา จุดตื่นเต้นเร้าใจ ตัวละครรับมือกับความท้าท้ายที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ของการกระทำ บทเรียนรู้ที่ตัวละครเรียนรู้จากการกระทำและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ข้อคิด
สิ่งที่ทำให้เรื่องเล่าน่าสนใจสิ่งที่ทำให้เรื่องเล่าน่าสนใจ • ใช้ภาษาง่าย/สนุกสนาน • น้ำเสียง/จังหวะ • การใช้อุปมาอุปไมย • ลีลา / ท่าทาง • อารมณ์ขันเพื่อคลายเครียด
( care & learn ) วิธีการเล่า
เปิดประเด็น เล่าเรื่อง ( ให้ก่อน ) กระตุ้นให้เกิดส่วนร่วมในการสนทนา รักษาบรรยากาศด้วยมิตรไมตรี ไม่มีผิดถูก Care
Learn • เปิดใจให้กว้างและใส • เรียนรู้สิ่งใหม่ • ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม • พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
คุณสมบัติของนักเล่าเรื่องที่ดีคุณสมบัติของนักเล่าเรื่องที่ดี • เตรียมเนื้อหาที่จะเล่าใช้หลักการเล่าเรื่อง - ลำดับเหตุการณ์ - ตัวละคร - แฝงด้วยแง่คิด • ความรู้สึกของผู้เล่า - แสดงความรู้สึก อารมณ์ไปกับการเล่าเรื่อง • เสียงดังชัดเจน ท่าทางประกอบ มีอารมณ์ขัน • ฝึกหัดการเล่าเรื่องบ่อย ๆ
คุณสมบัติของนักเล่าเรื่องที่ดี (ต่อ) • นักฟังที่ดี - หัดฟังผู้อื่นเล่า - สังเกต เก็บเทคนิค - ข้อความต่าง ๆ • นักอ่านที่ดี - ช่วยในการหาข้อมูล เพื่อพัฒนาความรู้ นำมาเสริมในการเล่าเรื่อง • เชื่อมั่นในตนเอง
แนวคิดเรื่องการบันทึกแนวคิดเรื่องการบันทึก • จับประเด็นสำคัญ • เห็นปัญหาต่าง ๆ • พาไปสู่วิธีแก้ไข • เห็นเนื้อแท้ของผลลัพธ์ • ลำดับของแหล่งอ้างอิง
หน้าที่ของคุณลิขิต • สรุปประเด็นให้สมาชิกทุกคนเห็นโดยไม่มีการปรับเปลี่ยนคำพูด (ใช้ Flip chart) • ตรวจสอบสิ่งที่จดบันทึกเป็นระยะ • ช่วยผู้นำกลุ่ม เพื่อทำให้เกิดความต่อเนื่องขอข้อมูล • จัดทำสรุปสิ่งที่บันทึกได้ • นำเสนอให้กลุ่มพิจารณา
เคล็ดลับสำหรับคุณลิขิตเคล็ดลับสำหรับคุณลิขิต • ซักถามเพื่อทำความกระจ่าง เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลถูกต้อง • บันทึกเฉพาะคำหรือวลีที่เป็นคำสำคัญไม่ต้องเขียนทุกคำพูด • ใช้คำพูดที่ผู้กล่าว ไม่ใช่การแปลความ • ขีดวงกลมหรือขีดเส้นใต้สำหรับการตัดสินใจในกิจกรรมที่ต้องทำ
เคล็ดลับสำหรับคุณลิขิต (ต่อ) 5. ให้หมายเลขในกระดาษ Flip chart • บันทึกทุกความคิด แม้ผู้บันทึกจะไม่เห็นด้วย • ถ้าการประชุมนานมาก ให้มีการทบทวน
ทบทวน เรื่องเล่า • เรียบเรียงและจัดลำดับความสำคัญ • ความสัมพันธ์ของเรื่องราว • เชื่อมโยงกับ • สถานการณ์ (Case)/Context • การกระทำ (Action) • ผลลัพธ์ (Result)
แผนที่ความคิด/ การจดบันทึก (สถานการณ์ภาพรวม) Context ? who what Action when ชื่อเรื่อง คลังความรู้ where why How บทเรียนรู้ ผลลัพธ์ ข้อคิด ประเด็นหลัก/ หลักการสำคัญ ? ? แหล่งข้อมูล
แบบบันทึกคลังความรู้ (Knowledge Asset) ชื่อเรื่อง ..........................................
เทคนิคการเล่า • ประเด็นหลักที่สำคัญ เช่น กระบวนการให้บริการ ฯลฯ • บริบทของหน่วยงานว่าเป็นอย่างไร • ประเด็นหลัก/หลักการที่สำคัญ • เป้าหมาย/เครื่องชี้วัด • กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ (แลกเปลี่ยนเรียนรู้) • แผนการพัฒนาเรื่อง การให้บริการอย่างต่อเนื่องอย่างไร
เทคนิคของการเขียนแผนที่ความคิดเทคนิคของการเขียนแผนที่ความคิด ? Context ? ประเด็นหลักที่สำคัญ ? เป้าหมาย/เครื่องชี้วัด Who/Team CoPs เรื่อง การให้บริการ what where กระบวนการ เพื่อให้ได้คุณภาพ when why How ? แผนพัฒนา ? ผลลัพธ์ ? ประเด็นหลัก/หลักการสำคัญที่ประสบความสำเร็จ
คลังความรู้ (Knowledge Asset) ชื่อเรื่อง ..........................................
ทักษะคุณอำนวยสู่การปฏิบัติทักษะคุณอำนวยสู่การปฏิบัติ • ให้กลุ่มนำความรู้ที่ได้มาบูรณาการเพื่อสร้างคลังความรู้ - เล่าเรื่อง - จดบันทึก - จัดทำคลังความรู้ • นำเสนอคลังความรู้ต่อที่ประชุมใหญ่
แบ่งสมาชิกในแต่ละกลุ่มแบ่งสมาชิกในแต่ละกลุ่ม คุณกิจ * ประธาน * เลขา (ผู้จดบันทึก) * ผู้เล่าเรื่อง * ผู้นำเสนอ * สมาชิกในทีม คุณอำนวย * ผู้กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * ผู้สังเกตการณ์ * ผู้ช่วยจดบันทึก กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดคลังความรู้
การทบทวนหลังปฏิบัติกิจกรรม (After Action Review : AAR) • นั่งล้อมวงเป็นวงกลม • ทำทันทีหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม • วัตถุประสงค์กิจกรรมครั้งนี้ • คุณอำนวย “ตั้งคำถาม” • จดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
วัตถุประสงค์ 1. เรียนรู้แนวคิด และเครื่องมือการจัดการความรู้ 2. เรียนรู้บทบาท / หน้าที่ของคุณอำนวย 3. ติด “อาวุธ” ให้กับคุณอำนวยเพื่อนำความรู้และทักษะ ไปประยุกต์ใช้ในเวทีของการแลกเปลี่ยนความรู้
คำถาม (After Action Review : AAR) • วัตถุประสงค์ของกิจกรรม คืออะไร ? • สิ่งที่เกิดขึ้นในขณะดำเนินกิจกรรม - มีส่วนใดบ้างบรรลุเป้าหมาย / เพราะอะไร? - มีส่วนใดบ้างที่เรายังไม่บรรลุเป้าหมาย / เพราะอะไร? • อะไรคือสิ่งที่เราได้เรียนรู้ในครั้งนี้?
Z Z ..ฟังจนหลับเข้าใจหมดแล้วครับ สวัสดี