660 likes | 1.64k Views
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต. แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost): โอกาสที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการ เลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น. แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน(ต่อ).
E N D
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุนแนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost): โอกาสที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการ เลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น
แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน(ต่อ)แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน(ต่อ) Ex. ถ้ามีทางเลือก 3 ทางในการพัฒนาที่ดินว่างเปล่า เราจะเลือกทำโครงการที่มีค่าเสียโอกาสน้อยที่สุด 1.พัฒนาเป็นลานจอดรถ ให้ผลตอบแทน 100,000 บาท/เดือน 1. ที่ดินว่างเปล่า 2.พัฒนาเป็นตึกแถวให้เช่า ให้ผลตอบแทน 250,000 บาท/เดือน 2. 3. 3.พัฒนาเป็นร้านอาหาร ให้ผลตอบแทน 150,000 บาท/เดือน
แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน(ต่อ)แนวคิดทางเกี่ยวกับต้นทุน(ต่อ) Ex. มีเงินอยู่ 10 ล้านบาท มี 4 ทางเลือกในการลงทุน เราจะเลือกทำโครงการที่มีค่า เสียโอกาสน้อยที่สุด 1.ซื้อทองคำ ให้ผลตอบแทน 80,000 บาทภายใน 1 ปี 1. 2.ฝากธนาคาร ให้ผลตอบแทน 50,000 บาทภายใน 1 ปี 10 ล้านบาท 2. 3.เล่นหุ้น ให้ผลตอบแทน 100,000 บาทภายใน 1 ปี 3. 4. 4.ปล่อยกู้นอกระบบ ดอกร้อยละ 20 ให้ผลตอบแทน 2,000,000 บาทภายใน 1 ปี
ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Explicit Cost and Implicit Cost) 1.ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost ):ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงินจริงๆ 2.ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost):คือต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิตจริงๆ แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงิน เกิดจากการนำปัจจัยการผลิตที่ตนเองเป็นเจ้าของมาใช้ในการผลิต (โดยทั่วไปก็คือ Opportunity Cost)
ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (ต่อ) เครื่องครัว: ซื้อใหม่ 10,000 บาท เปิดร้านข้าวแกง ใช้ตึกแถวที่พ่อแม่ยกให้มาทำ 1. โต๊ะเก้าอี้: ซื้อใหม่ 50,000 บาท เจ้าของร้านข้าวแกง เปิดร้านข้าวแกง 2. 3. ตู้กับข้าว: ซื้อใหม่ 20,000 บาท 4. ตึกแถว: มีอยู่แล้ว พ่อแม่ยกให้
ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (ต่อ) ตู้กับข้าว: ซื้อใหม่ 20,000 บาท โต๊ะเก้าอี้: ซื้อใหม่ 50,000 บาท เครื่องครัว: ซื้อใหม่ 10,000 บาท 1.ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) + + ค่าเสียโอกาสของเจ้าของกิจการ ค่าเสียโอกาสของสถานที่ 2.ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) +
ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (ต่อ) ธุรกิจคาร์แคร์ 1.ซื้อเครื่องมือล้างรถ ราคา 50,000 บาท เจ้าของกิจการ เปิดบริการคาร์แคร์ 2.จ้างเด็กล้างรถ ราคา 10,000 บาท 3.สถานที่ไม่ต้องซื้อ มีอยู่แล้ว
ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (ต่อ) เครื่องมือล้างรถ ราคา 50,000 บาท จ้างเด็กล้างรถ ราคา 10,000 บาท 1.ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) + ค่าเสียโอกาสของเจ้าของกิจการ ค่าเสียโอกาสของสถานที่ 2.ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) +
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี (Economics cost and Accounting Cost) 1.ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economics Cost)คือ ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้านั้น ไม่ว่าจะมีการจ่ายไปจริงหรือไม่ก็ตาม Economics cost= Implicit Cost + Explicit Cost 2.ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost)คือ ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและได้ลงบันทึกรายการทางบัญชีไว้ Accounting cost = Explicit Cost
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี (ต่อ) ตู้กับข้าว: ซื้อใหม่ 20,000 บาท โต๊ะเก้าอี้: ซื้อใหม่ 50,000 บาท เครื่องครัว: ซื้อใหม่ 10,000 บาท 1.ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) + + ค่าเสียโอกาสของเจ้าของกิจการ ค่าเสียโอกาสของสถานที่ 2.ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) +
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี (ต่อ) เครื่องมือล้างรถ ราคา 50,000 บาท จ้างเด็กล้างรถ ราคา 10,000 บาท 1.ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) + ค่าเสียโอกาสของเจ้าของกิจการ ค่าเสียโอกาสของสถานที่ 2.ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) +
ต้นทุนเอกชนและต้นทุนทางสังคม (Private Cost and Social Cost) 1.ต้นทุนเอกชน (Private Cost):ต้นทุนการผลิตที่เจ้าของหน่วยผลิตจะต้องจ่ายโดยตรงรวมทั้งค่าเสียโอกาสต่างๆ ดังนั้น ต้นทุนเอกชนจะเท่ากับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ 2.ต้นทุนทางสังคม (Social Cost):ต้นทุนจากการผลิตทั้งหมดทั้งที่เจ้าของหน่วยผลิตจะต้องจ่ายโดยตรงรวมทั้งค่าเสียโอกาสต่างๆและที่เกิดขึ้นกับสังคม ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิต ต้นทุนที่ตกแก่บุคคลอื่นในสังคมเรียกว่า ผลกระทบภายนอก (Externality) Social Cost = Private Cost + Externalities = Private Cost + (External Cost - External Benefit)
ต้นทุนเอกชนและต้นทุนทางสังคม (ต่อ) ผลกระทบภายนอกมี 2 ชนิด 1. ถ้าผลกระทบภายนอก (Externalities) ก่อให้เกิดประโยชน์กับสังคม Externalities= External Benefits 2. ถ้าผลกระทบภายนอก (Externalities) ก่อให้เกิดผลเสียกับสังคม Externalities = ExternalCosts
ต้นทุนเอกชนและต้นทุนทางสังคม (ต่อ) ต้นทุนเอกชน ต้นทุนจากการซื้อที่ดิน / เครื่องจักรกล / จ้างแรงงาน / ค่าเสียโอกาสต่างๆ / ฯลฯ โครงการนิคมอุตสาหกรรม สังคมร่ำรวยขึ้น เศรษฐกิจดี มีการจ้างงานมากขึ้น Externalities เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม คนป่วยจากสารพิษ
สรุป ต้นทุนประเภทต่างๆ
กำไร (Profit) กำไรเอกชน = รายรับ – ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ กำไร = 0 กำไรปกติ(Normal Profit) กำไร > 0 กำไรเกินปกติ(Abnormal Profit)
กำไร (ต่อ) Ex. โครงการพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทางตรงข้ามหมอชิดเก่าอนุญาติให้จอดรถได้ฟรี (รายรับเท่าศูนย์) แต่มีต้นทุนที่ต้องจ่ายออกไปจริงๆเท่ากับ 20 ล้านบาท และมีค่าเสียโอกาสของที่ดิน 100 ล้านบาท โครงการนี้ก่อให้เกิดผลดีกับสังคม (External Benefit) คือ ทำให้คนกรุงเทพใช้รถส่วนตัวน้อยลงซึ่งทำให้ชาติประหยัดค่านำเข้าน้ำมัน 500 ล้านบาท และทำให้มีคนใช้ระบบขนส่งมวลชนทั้งรถเมล์และรถไฟฟ้ามากขึ้นคิดเป็นเงินเท่ากับ 10 ล้านบาท ทำให้มีคนมาเที่ยวสวนจตุจักรมากขึ้นซึ่งเป็นเหตุให้ พ่อค้าแม่ค้าในสวนจตุจักรมีรายได้มากขึ้นคิดเป็นเงิน 300 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม การมีโครงการนี้ทำให้ รถบริเวณนี้ติดขัดมากขึ้น ก่อให้เกิดการเสียเวลาและ พลังงานซึ่งสามารถคิดเป็นเงินได้เท่ากับ 50 ล้านบาท ถ้า นศ. เป็นนักลงทุน นศ. จะทำโครงการนี้ไหม? และ ถ้า นศ.เป็นรัฐบาล นศ. จะทำโครงการนี้ไหม?
กำไร (ต่อ) Ex. โครงการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดก่อให้เกิดรายได้ทั้งหมดแก่ผู้ลงทุน 10,000 ล้านบาท โดยผู้ลงทุนต้องลงทุนด้านต่างๆ (จ่ายออกไปเป็นเงิน) เท่ากับ 2,000 ล้านบาท และสมมติให้ค่าเสียโอกาสของผู้ลงทุนและของปัจจัยการผลิตต่างๆมีมูลค่ารวมเท่ากับ 500 ล้านบาท โครงการนี้ก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมในด้านต่างๆ เช่น มีการจ้างงานกว่า 1,500 ตำแหน่ง และทำให้ประเทศชาติได้ผลประโยชน์จากการส่งออก ซึ่งคิดเป็นมูลค่าเงินจากผลดีต่างๆเหล่านี้มีมูลค่าเท่ากับ 5,000 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตาม โครงการนี้ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศซึ่งทำให้ชาวบ้านบริเวณนั้นป่วยเป็นโรคต่างๆและเสียชีวิตตั้งแต่ยังอยู่ในวัยหนุ่มสาว นอกจากนั้นยังทำลายบรรยากาศของเมืองท่องเที่ยวชายทะเล ซึ่งคิดเป็นมูลค่าความสูญเสียได้ทั้งหมดเท่ากับ 20,000 ล้านบาท ถ้า นศ. เป็นผู้ประกอบการ นศ. จะทำโครงการนี้หรือไม่? และถ้า นศ. เป็นรัฐบาล นศ. จะยอมให้เกิดโครงการนี้หรือไม่?
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้นการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น การผลิตระยะสั้น คือ ระยะเวลาของการผลิตที่จะต้องมีปัจจัยคงที่อย่าง น้อยหนึ่งตัวทำงานร่วมกับปัจจัยแปรผัน ต้นทุนการผลิตระยะสั้น จะประกอบด้วยต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน Total Cost = Fixed Cost + Variable Cost (TC หรือ C) (FC) (VC)
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost: FC)และต้นทุนแปรผัน (Variable Cost: VC) 1.ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost: FC):คือต้นทุนในการจัดหาปัจจัยคงที่เพื่อการผลิต เช่นค่าก่อสร้าง, ค่าที่ดิน, ค่าเครื่องจักร เป็นต้น 2.ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost: VC):คือต้นทุนในการจัดหาปัจจัยแปรผัน เช่น ค่าจ้างแรงงาน, ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น
ต้นทุนระยะสั้น 1.ต้นทุนทั้งหมดในระยะสั้น (Total Cost : TC or C)คือผลรวมของต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน C = FC + VC 2.ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Cost : MC)คือ ต้นทุนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MCn = Cn – Cn-1 MC = C / Q = dC / dQ =Slope C ในระยะสั้น MC = VC / Q = dVC/dQ เพราะ FC จะคงที่
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) 1.ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC)คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AC = C / Q AC = AFC + AVC โดยที่ AFC= ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost) AVC = ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost)
จำนวนผลผลิต ต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนทั้งหมด Q FC VC C = FC + VC 0 550 0 550 1 550 300 850 2 550 550 1100 3 550 750 1300 4 550 1050 1600 5 550 1550 2100 6 550 2250 2800 7 550 3150 3700 8 550 4250 4800 ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆ
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่าง C, FC, VC
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) • ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC)คือ ต้นทุนคงที่ทั้งหมดคิดเป็นค่าเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AFC = FC / Q , AFC จะมีค่าลดลงตลอดเมื่อ Q เพิ่ม • ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC)คือ ต้นทุนแปรผันทั้งหมดที่เป็นคิดค่าเฉลี่ยต่อหน่วยของสินค้า AVC = VC / Q
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) ทำต้นทุนชนิดต่างๆให้เป็นค่าเฉลี่ย AC, AVC, AFC, MC พิสูจน์ ที่ min.AC, AC = MC ที่ min.AVC, AVC = MC ต้นทุน MC AC AVC ระยะห่างเท่ากัน AFC 0 ปริมาณผลผลิต
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่าง AC, AVC, AFC, MC • AFC จะลดลงเรื่อยๆเมื่อ Q เพิ่มขึ้น • ที่ min.AC, AC = MC • ที่ min.AVC, AVC = MC • ระยะห่างระหว่าง AC และ AVC คือ AFC • AC, AVC : U shape
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) เนื่องจากต้นทุนมีหลายชนิด ต้นทุนแบบไหนที่เราต้องการให้มีค่าต่ำสุด? TC? หรือ AC? หรือ MC? หรือ AVC? หรือ AFC? หรือ ?????
ต้นทุนระยะสั้น (ต่อ) เราต้องการ “AC” ต่ำสุด
ต้นทุนการผลิตระยะยาว การผลิตระยะยาว คือ การผลิตที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้หมด นั่นคือ ไม่มีปัจจัยคงที่ ต้นทุนการผลิตระยะยาว (Long Run Cost : LTC) จะมีเฉพาะต้นทุนแปร ผันเท่านั้น LTC= VC
ต้นทุนการผลิตระยะยาว (ต่อ) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาว (Long Run Average Cost: LAC) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิตระยะยาว LAC = LTC / Q LAC ต้นทุน LAC* 0 ผลผลิต Q*
ต้นทุนการผลิตระยะยาว (ต่อ) เนื่องจากตำแหน่งของเส้น AC ในระยะสั้น (หรือเรียกว่า SAC) จะขึ้นอยู่กับปริมาณ การใช้ปัจจัยคงที่ ดังนั้นเราจะเลือกใช้ปัจจัยคงที่ในปริมาณที่ทำให้ได้ต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุด ต้นทุน SAC1 SAC4 SAC2 SAC3 SAC1 ใช้ปัจจัยคงที่เท่ากับ x=x1 SAC2 ใช้ปัจจัยคงที่เท่ากับ x=x2 SAC3 ใช้ปัจจัยคงที่เท่ากับ x=x3 SAC4 ใช้ปัจจัยคงที่เท่ากับ x=x4 โดยที่ X1<X2<X3<X4 ผลผลิต
ต้นทุนการผลิตระยะยาว (ต่อ) Ex. การปลูกข้าวในระยะสั้นชาวนาจะเพิ่มผลผลิตโดยการเพิ่มปุ๋ยและจำนวนแรงงานแทน การปรับเปลี่ยนขนาดที่ดิน (สมมติใช้ที่ดิน 2 ไร่) จะได้ต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุด 13000 บาท โดย ได้ผลผลิตเป็นข้าวสาร 200 กระสอบ ต้นทุน MC AC=SAC 13000 ผลผลิต 200
ต้นทุนการผลิตระยะยาว (ต่อ) Ex. (ต่อ) สมมติให้ต่อมาชาวนาสามารถเพิ่มขนาดที่ดินได้ (ปัจจัยคงที่กลายเป็นปัจจัยแปรผัน:ระยะยาว) เขาจะ พยายามหาขนาดที่ดินที่ทำให้ได้ต้นทุนเฉลี่ยต่ำที่สุด ต้นทุน AC2 ระยะสั้น AC8 AC4 AC6 13000 12000 11000 10000 ผลผลิต 200 400 600 800
LAC ต้นทุนการผลิตระยะยาว (ต่อ) ที่ต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุด AC3=LAC=MC3=LMC ต้นทุน AC4 AC2 AC1 AC3 10000 0 ผลผลิต(กระสอบ) 600
รายรับจากการผลิต(Total Revenue) • รายรับจากการผลิต(Total Revenue : TR) รายได้ที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าและบริการในราคาตลาด • รายรับเพิ่ม(Marginal Revenue : MR ) รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงจากการที่ผู้ผลิตขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย • รายรับเฉลี่ย(Average Revenue : AR) รายรับทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับคิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิต TR = P.Q MRn = TRn – TRn-1 MR = TR / Q = dTR / dQ = slope TR AR = TR / Q
รายรับจากการผลิต (ต่อ) การวิเคราะห์ผลกำไรจะแบ่งเป็น 2 กรณี 1. สินค้ามีราคาคงที่ (เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นเป็นอินฟินิตี้) ตลาดสมบูรณ์ 2. สินค้ามีราคาไม่คงที่ (เป็นไปตามของอุปสงค์) ตลาดไม่สมบูรณ์
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 1. สินค้าราคาคงที่ (เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นอินฟินิตี้) (เกิดขึ้นในตลาดสมบูรณ์) ความสัมพันธ์ ระหว่าง MR, AR, TR กรณีราคาสินค้าคงที่
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 1. ราคาสินค้าคงที่ (ต่อ) AR,MR,P 10 MR=AR=P=D Q 0
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 1. สินค้าราคาคงที่(ต่อ):อะไรคือเงื่อนไขของกำไรสูงสุด? TR,TC TR TC เงื่อนไขของกำไรสูงสุด Slope TR = Slope TC MR = MC A Profit B 0 Q* ปริมาณสินค้า
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 1. สินค้าราคาคงที่ (ต่อ): โดยทั่วไปเราจะใช้เงื่อนไข MR = MC จากเส้น MR และ MC โดยตรงเพื่อหาราคา (P*) และปริมาณผลิตผล (Q*) ที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด MR,MC,AR,P MC B MR=AR=P=D MC=MR=P* Q 0 Q*
รายรับจากการผลิต (ต่อ) Ex. สมมติให้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทั้งหมด (TC) กับปริมาณผลผลิต (Q) ได้เท่ากับ TC = C = 10Q + 5 (Q^2) และให้สินค้ามีราคาคงที่ที่หน่วยละ 20 บาท จงหาปริมาณผลผลิตและระดับราคาที่จะทำให้ผู้ผลิตได้กำไรสูงสุด (ตอบ Q=1, P=20)
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 2. สินค้ามีราคาไม่คงที่ (เป็นไปตามกฎของอุปสงค์) (เกิดขึ้นในตลาดไม่สมบูรณ์) ความสัมพันธ์ระหว่าง MR, AR, TR เมื่อราคาสินค้าลดลง
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 2. ราคาสินค้าไม่คงที่ (ต่อ) TR,AR,P Max.TR MR จะชันกว่า AR สองเท่าเสมอ AR=D TR Q 0 MR
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 2. สินค้าราคาไม่คงที่ (ต่อ):อะไรคือเงื่อนไขของกำไรสูงสุด? TC,TR TC A Profit เงื่อนไขของกำไรสูงสุด Slope TR = Slope TC MR = MC B TR 0 ปริมาณสินค้า Q*
รายรับจากการผลิต (ต่อ) 2. สินค้าราคาไม่คงที่ (ต่อ): โดยทั่วไปเราจะใช้เงื่อนไข MR = MC จากเส้น MR และ MC โดยตรงเพื่อหาราคา (P*) และปริมาณผลิตผล (Q*) ที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด MR,MC,AR,P MC A B P* MC=MR AR 0 Q* MR
รายรับจากการผลิต (ต่อ) Ex. สมมติให้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทั้งหมด (TC) กับปริมาณผลผลิต (Q) ได้เท่ากับ TC = 10Q + 5 (Q^2) และความสัมพันธ์ระหว่างราคากับ ความต้องการของตลาดได้เท่ากับ P = 100 – 4Q จงหาปริมาณผลผลิตและระดับ ราคาที่จะทำให้ผู้ผลิตได้กำไรสูงสุด (ตอบ Q=5, P=80)