330 likes | 639 Views
ข้าวฟ่าง. ชื่อสามัญ : Sorghum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sorghum bicolor (L.) Moench. ถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจาย. ถิ่นกำเนิด อะมิสซีเนีย ชายแดนระหว่างประเทศซูดาน และ เอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกาตะวันออก. การแพร่กระจาย.
E N D
ข้าวฟ่าง ชื่อสามัญ : Sorghum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sorghum bicolor (L.) Moench
ถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจายถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจาย ถิ่นกำเนิด อะมิสซีเนีย ชายแดนระหว่างประเทศซูดาน และ เอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกาตะวันออก
การแพร่กระจาย ศตวรรษที่ 13-17 แพร่กระจายไปยังทวีปเอเซีย ยุโรปตอนใต้อเมริกากลาง อเมริกาใต้ และออสเตรเลีย ประเทศไทย นำข้าวฟ่างเมล็ดสีขาวพันธุ์เฮกการีปลูก พ.ศ. 2483 ข้าวฟ่างเมล็ดสีขาวมีสารแทนนิน อันตรายต่อการเจริญเติบโตของสัตว์ปีก นำข้าวฟ่างเมล็ดสีแดงลูกผสม ปลูก พ.ศ. 2532
แหล่งปลูก ข้าวฟ่าง เป็นธัญญพืชที่มีความสำคัญอันดับห้าของโลก รองจากข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี และข้าวบาร์เลย์ ปลูกมากเขตอากาศแห้งแล้ง และร้อน พื้นที่ปลูก 200 ล้านไร่ ผลผลิต 60 ล้านตัน
โลก : ประเทศอินเดียปลูกมากที่สุด สหรัฐอเมริกาผลผลิตมากที่สุด ไทย : ลพบุรี นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์
ปีเพาะปลูก พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ย (x1,000 ไร่) (x1,000 ตัน) ต่อไร่ 2529/30 1,212 211 184 2530/31 1,105 192 192 2531/32 1,126 215 198 2532/33 1,171 231 208 2533/34 1,215 237 201 2534/35 1,231 250 208 2535/36 1,168 250 231 2536/37 1,097 208 228 2537/38 1,104 228 218 2538/39 887 194 241 ตารางที่ 2 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิตระหว่างปี 2529 - 2538
สภาพดินฟ้าอากาศ ความสูงระดับน้ำทะเล -2,500 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ดินทรายจนถึงดินเเหนียว ดินที่เหมาะสม ดินร่วนเหนียวที่มีการระบายน้ำดี pH 5.6-8.5 ปริมาณน้ำฝนน้อยถึงปานกลาง ปริมาณน้ำฝน 300 - 400 มิลลิเมตร ข้าวฟ่างก็สามารถเจริญเติบโตได้ดี
ข้าวฟ่างสามารถทนทานต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีกว่าข้าวโพดเพราะข้าวฟ่างสามารถทนทานต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีกว่าข้าวโพดเพราะ รากเจริญลึกกว่า 2 เมตร เพื่อหาความชื้น ข้าวฟ่างมีไขที่ปกคลุมที่ใบและลำต้น ทำให้การสูญเสียน้ำออกจากใบและลำต้นเป็นไปอย่างช้า
อุณหภูมิที่เมล็ดต้องการงอก 4.5 - 10 องศาเซลเซียล อุณหภูมิที่ข้าวฟ่างสามารถเจริญเติบโตได้อยู่ระหว่าง 16 - 40 องศาเซลเซียล อุณหภูมิที่ข้าวฟ่างเจริญเติบโตได้ดีที่สุด 27 องศาเซลเซียส
ตารางที่ 4 ลักษณะข้าวฟ่างพันธุ์แท้เมล็ดสีขาว และสีเหลือง ลักษณะ พันธุ์ เฮกการีหนัก เฮกการีเบา อู่ทอง 1 เคยู 439 ความสูงต้น (ซม.) 200 170 150 165 การหักล้มของต้น ไม่ต้านทาน ไม่ต้านทาน ต้านทาน ต้านทาน อายุดอกบาน 50% (วัน) 58 55 90 66 อายุเก็บเกี่ยว (วัน) 120 100 90 110 ลักษณะช่อ แน่น แน่น ค่อนข้าง ค่อนข้าง โปร่ง แน่น
ตารางที่ 4 ลักษณะข้าวฟ่างพันธุ์แท้เมล็ดสีขาว และสีเหลือง (ต่อ) ลักษณะ พันธุ์ เฮกการีหนัก เฮกการีเบา อู่ทอง 1 เคยู 439 ความสม่ำเสมอ ปานกลาง ปานกลาง ดีมาก ดี ของต้น สีเมล็ด ขาวขุ่น ขาวขุ่นมีจุดประ เหลืองอ่อน ขาวไม่เป็น มัน น้ำหนัก 1,000 35 20 34 25 เมล็ด (กรัม)
ตารางที่ 4 ลักษณะข้าวฟ่างพันธุ์แท้เมล็ดสีขาว และสีเหลือง (ต่อ) ลักษณะ พันธุ์ เฮกการีหนัก เฮกการีเบา อู่ทอง 1 เคยู 439 ผลผลิต (กก./ไร่) 500 400 550 800 องค์ประกอบทางเคมี ของเมล็ด โปรตีน (%) 9.85 - 9.67 - ไขมัน (%) 3.35 - 2.32 -
ตารางที่ 4 ลักษณะข้าวฟ่างพันธุ์แท้เมล็ดสีขาว และสีเหลือง (ต่อ) ลักษณะ พันธุ์ เฮกการีหนัก เฮกการีเบา อู่ทอง 1 เคยู 439 คาร์โบไฮเดรต (%) 72.97 - 72.53 - แป้ง (%) 68.62 - 69.75 - แทนนิน (%) 0.190 0.350 0.104 - ที่มา : สถาบันวิจัยพืชไร่, 2537
ตารางที่ 5 ลักษณะข้าวฟ่างเมล็ดสีแดง ลักษณะ สุพรรณบุรี เคยู 1 * 60 630 8501 8703 พันธุ์ แท้ แท้ ลูกผสม ลูกผสม ลูกผสม ความสูงต้น (ซม.) 200 160 40 165 160 การหักล้มของต้น ต้านทาน ต้านทาน ต้านทาน ต้านทาน ต้านทาน อายุดอกบาน 58 56 55 66 66 50% (วัน)
ตารางที่ 5 ลักษณะข้าวฟ่างเมล็ดสีแดง ลักษณะ สุพรรณบุรี เคยู 1 * 60 630 8501 8703 อายุเก็บเกี่ยว (วัน ) 95 95 90 115 115 ลักษณะช่อ ค่อนข้าง ค่อนข้าง ค่อนข้าง ค่อนข้าง ค่อนข้าง โปร่ง โปร่ง แน่น แน่น แน่น ความสม่ำเสมอต้น ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก
ตารางที่ 5 ลักษณะข้าวฟ่างเมล็ดสีแดง (ต่อ) ลักษณะ สุพรรณบุรี เคยู 1 * 60 630 8501 8703 สีเมล็ด แดง แดง แดงสด แดงอ่อน ส้มถึง แดงอ่อน น้ำหนัก 32 30 24 23 - 1,000 เมล็ด (กรัม) ผลผลิต (กก./ไร่) 464 500 750 1,070 1,100
ตารางที่ 5 ลักษณะข้าวฟ่างเมล็ดสีแดง (ต่อ) ลักษณะ สุพรรณบุรี เคยู 1 * 60 630 8501 8703 องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ด โปรตีน (%) 9.05 9.49 - - - ไขมัน (%) 2.49 2.57 - - - คาร์โบไฮเดรต(%) 71.75 77.58 - - - แป้ง (%) 70.17 76.50 - - - แทนนิน (%) 0.408 0.164 - - -
ฤดูปลูก การเขตกรรม • การเตรียมดิน ทำการไถพรวน 2 ครั้ง • ไถผาน 3 ไถ ให้ลึกประมาณ 5-6 นิ้ว แล้วตากดินไว้ 7-10 วัน • พรวนด้วยไถผาน 7 เพื่อย่อยดิน และกำจัดวัชพืช ผลิตเมล็ด เริ่มปลูกกลางกรกฎาคม - ปลายสิงหาคม ตัดต้นสด ไว้ตอ ปลูกช่วงต้นฝนพฤษภาคม - มิถุนายน
วิธีการปลูก หว่านเมล็ดอัตรา 2 - 3 กก./ไร่ - ข้อดี : สะดวก ประหยัดเวลาและแรงงาน - ข้อเสีย : หว่านไม่สม่ำเสมอ วัชพืชจะงอกแข่งขัน หรือหว่านแน่น ทำให้ข้าวฟ่างเจริญเติบโตได้ไม่สมบูรณ์ หยอดเป็นหลุมแต่ละแถวห่างกัน 60 ซม. หยอดหลุมห่างกัน 30 ซม. หยอดเมล็ดหลุมละ 6 - 7 เมล็ด ข้าวฟ่างงอกแล้ว 15 วัน ถอนแยกเหลือหลุมละ 3 ต้น
วิธีการปลูก (ต่อ) โรยเป็นแถว แต่ละแถวห่างกัน 60 ซม. ร่องลึก 2-3 ซม. โรยเมล็ดห่าง 10 ซม. เมื่อข้าวฟ่างอายุ 15 วัน ถอนแยก ให้มีระยะห่างระหว่างต้น 10 ซม. การใส่ปุ๋ย - ปุ๋ยคอก - ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ : สูตร 16-20-0 อัตรา 30 - 50 กก./ไร่ ใส่ก่อนปลูก ถ้าต้นข้าวฟ่างเจริญเติบโตไม่ดี ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต อัตรา 30 กก./ไร่ อายุ 25 วัน
วิธีการใส่ปุ๋ย โรยในแถว แล้วพรวนดินกลบพร้อมกำจัดวัชพืช การกำจัดวัชพืช - แรงงานคน ถากข้าวฟ่างอายุ 25-30 วัน - หลังปลูก ใช้อาทราซิน อัตรา 240 - 400 ซีซี/ไร่ (ฉีดพ่นเพื่อคุมกำเนิดวัชพืช)
โรคและแมลงที่สำคัญของข้าวฟ่างโรคและแมลงที่สำคัญของข้าวฟ่าง โรคที่สำคัญ 1. โรครามนเมล็ด (Grain mold) เชื้อราCurvularia sp., Fusarium sp., Colletotrichum sp. อาการ จุดสีดำบนเมล็ด ทำลายช่วงออกดอก - เมล็ดแก่ (ช่วงอากาศร้อนชื้น ฝนตกชุก) การป้องกันกำจัด - ปลูกปลายฝน ต้นสิงหาคม - ต้นกันยาย - ปลูกระยะห่างมากกว่าปกติ
2. โรคใบไหม้ (Leaf blight) เชื้อรา Helminthosporium turcicum อาการ เริ่มเป็นจุดเล็ก ๆ ที่ใบ แล้วขยายออกตามเส้นใบ แผลยาว 4 - 12 ซม. รุนแรงทำให้ใบไหม้แห้งตาย การป้องกันกำจัด - ใช้เมล็ดพันธุ์ปราศจากโรค - เผาทำลายตอซังที่เป็นโรค - กำจัดวัชพืช
3. โรคแอนแทรกโนส (Antracnose) หรือโรคไส้แดง เชื้อรา Colletotrichum graminicola อาการ -ทำลายใบ ลำต้น และเมล็ด - บนใบเป็นแผลจุดกลมหรือรีเล็ก ๆ ขอบสีเข้ม กลางแผลมีตุ่มสีดำเล็ก ๆ - บนเส้นกลางใบเป็นแผลยาวสีแดงหรือม่วง มีตุ่มสีดำเล็ก ๆ บนผิว - ในลำต้นเป็นวงสีแดง การป้องกันกำจัด - เช่นเดียวกับโรคใบไหม้
4. โรคราสนิม (Rust) เชื้อรา Puccinia purpurea อาการ เริ่มเป็นจุดเล็ก ๆ ต่อมาแผลนูนขึ้นเป็นสีสนิม เมื่อแก่จะแตก เห็นสปอร์ของเชื้อราเป็นสีแดง การป้องกันกำจัด - เช่นเดียวกับโรคใบไหม้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญ 1. หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าวฟ่าง (Sorghum shootfly) Aterigona soccata อาการทำลายระยะต้นกล้าอายุ 1 - 2 สัปดาห์หลังงอก ตัวหนอนจะกัดกินยอดข้าวฟ่าง ทำให้ยอดเหี่ยว การป้องกันกำจัด - ใช้พันธุ์อู่ทอง 1, KU 439 - ก่อนฤดูปลูก ใช้กับดักปลาป่น - carbofuran 3% G โรยก้นร่องพร้อมเมล็ดตอนปลูก หรือฉีดพ่น carbosulfan 20%EC เมื่อข้าวฟ่าง 1 สัปดาห์หลังงอก
2. หนอนกระทู้คอรวง (Rich armyworm) Mythimna separata อาการ ทำลายตั้งแต่ข้าวฟ่างอายุ 1 เดือน โดยกัดกินยอดและใบอาจเหลือแต่ก้านใบ การป้องกันกำจัด - ช่วงข้าวฟ่างตั้งท้องใช้ Carbaryl 85%WP. หรือ methomyl 90% SP. ฉีดบริเวณที่พบหนอน
3. หนอนเจาะสมอฝ้าย (Cotton ballworm) Heliothis armigera อาการ กัดกินดอกและเมล็ดข้าวฟ่าง การป้องกันกำจัด - thiodicarb หรือ methomyl ฉีดพ่นที่ช่อข้าวฟ่าง
การเก็บเกี่ยว ข้าวฟ่างเริ่มแก่ อายุ 80-90 วันหลังงอก หรือหลังดอกบาน 30-35 วัน เนื้อเยื่อที่อยู่ใต้เปลือกเมล็ดบริเวณที่ติดกับขั้วของฐานดอกเปลี่ยนเป็นสีดำ (black layer) การเก็บเกี่ยวช่วงมี black layer เมล็ดพันธุ์เปอร์เซ็นต์ความงอก ความแข็งแรง และน้ำหนักแห้งสูงสุด ระยะนี้เมล็ดจะมีความชื้นสูงและเปลี่ยนเป็นสีต่าง ๆ ตามแต่ละพันธุ์
วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคนตัดด้วยมีดหรือเคียว ตัดชิดโคนช่อข้าวฟ่าง ตากบนลานที่สะอาดจนเมล็ดแห้ง นำไปนวดหรือสี บรรจุกระสอบส่งจำหน่าย หรือตากเมล็ดอีก 1-2 แดด เพื่อให้เมล็ดมีความชื้น 14%
การเก็บรักษา การเก็บเมล็ดทำพันธุ์ ต้นที่เลือกทำพันธุ์ เลือกต้นที่แข็งแรง ปราศจากโรค มีช่อขนาดใหญ่ เมล็ดโต ตรงตามพันธุ์เดิม
ตากแดด นวดหรือสี คัดและทำความสะอาด ตากแดด 3 - 4 แดด เพื่อลดความชื้นต่ำกว่า 12% คลุกสารเคมีป้องกันแมลง : มาลาไธออน 83% อัตรา 1 ซีซีต่อเมล็ดพันธุ์ 10 กก. คลุกสารเคมีป้องกันเชื้อรา : แคปแตน อัตรา 1 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กก. ตากแดดให้แห้ง เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด เก็บในห้องที่แห้งและเย็น
การใช้ประโยชน์ 1. เมล็ดทำแป้ง อาหารของมนุษย์และสัตว์ 2. ต้นและใบสด เลี้ยงสัตว์ หรือทำหญ้าหมัก ข้าวฟ่างหวาน : หญ้าหมัก (silage) น้ำเชื่อม (syrup) น้ำตาลซูโครส 3. ข้าวฟ่างไม้กวาด (bromcorn) : ช่อดอกทำไม้กวาด 4. ข้าวฟ่างคั่ว (pop sorghum) : เมล็ดอบหรือคั่ว