310 likes | 506 Views
การพัฒนา ระบบการเงิน เพื่อการอุดมศึกษา : บางแนวคิด. ภา วิช ทองโรจน์ ประธานคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ เพื่อพัฒนาระบบการเงินอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา. ภารกิจคณะอนุฯเฉพาะกิจ. จัดทำขอเสนอ ระบบการเงินเพื่อการอุดมศึกษา (Higher Education Financing System). Government Budget Other Income.
E N D
การพัฒนาระบบการเงินเพื่อการอุดมศึกษา : บางแนวคิด ภาวิช ทองโรจน์ ประธานคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ เพื่อพัฒนาระบบการเงินอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา
ภารกิจคณะอนุฯเฉพาะกิจภารกิจคณะอนุฯเฉพาะกิจ • จัดทำขอเสนอ ระบบการเงินเพื่อการอุดมศึกษา (Higher Education Financing System) Government Budget Other Income
สถานการณ์ด้านการเงินอุดมศึกษา (ทั่วโลก) • ค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิตเพิ่มขึ้น (ต่อหัว-ต่อสาขา) • จำนวนการผลิตเพิ่มขึ้น (Massification)(นักศึกษา-ผู้สำเร็จการศึกษา) • รายได้ภาครัฐลดลง-หรือรายจ่ายภาครัฐเพิ่มขึ้น
Outline: • Higher Education Financing: General • Financing & Outcomes • Demand-Side/ Indirect Student Financing (Grants and Loans) • Financing Private Higher Education • Financing & Quality Assurance • Financing & Governance • Financing & Equity
ผลที่เกิดขึ้น • ต่อมหาวิทยาลัยงบประมาณไม่เพียงพอ การพัฒนาทางการภาพลดลง ขาดแคลนอาจารย์ อาจารย์อยู่ไม่เป็นสุข ห้องสมุด-คอมพิวเตอร์-Internet การวิจัยน้อยลง คุณภาพทางวิชาการลด • ต่อระบบอุดมศึกษาคุณภาพโดยรวมลดลง สูญเสียบุคลากรที่มีคุณภาพไปให้ภาคเอกชนหรือประเทศอื่น ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศลดลง • ต่อตัวนักศึกษาการแข่งขันเพื่อเข้าศึกษาสูงขึ้นหรือจำต้องเลือกเรียนสาขาที่เข้าง่ายกว่าหรือที่ที่คุณภาพต่ำกว่า ค่าเล่าเรียนเพิ่ม ค่าครองชีพเพิ่ม ต้องหาเลี้ยงตนเองขณะเรียน ได้ศึกษาในระบบที่มีคุณภาพลดลง
“In recent decades, a growing number of countries have sought innovative solutions to thesubstantial challenges they face in financing tertiary education. One of the principal challengesis that the demand for education beyond the secondary level in most countries around the worldis growing far faster than the ability or willingness of governments to provide public resourcesthat are adequate to meet this demand.” • ประเทศต่างๆ จำเป็นต้องคิดค้นนวัตกรรม (ด้านการเงิน) เพื่อที่ตอบสนองต่อการท้าทายที่ต้องเผชิญเกี่ยวกับการให้การอุดหนุนด้านการเงินแก่ระบบอุดมศึกษา • ความต้องการเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาในเกือบทุกประเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเกินกว่าความสามารถหรือความประสงค์ที่รัฐบาลต่างๆ จะจัดหาทรัพยากรสนับสนุนให้เพียงพอแก่ความต้องการที่เพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อระบบการเงินอุดมศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อระบบการเงินอุดมศึกษา • ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น • จำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น • ค่าใช้จ่ายอื่นของภาครัฐเพิ่มขึ้น (ส่วนแบ่งงบประมาณลดลง) • ผลกระทบของระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ • ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ • การเปลี่ยนแปลงระบบบริหารอุดมศึกษา (การกระจายอำนาจ ความเป็นอิสระที่มากขึ้น)
Worldwide Trends in Higher Education Finance: Cost-Sharing, Student Loans, and the Support of Academic Research D. Bruce Johnstone and Pamela N. Marcucci *
Research Others Government/ Local Authority Student แหล่งที่มาของรายรับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ Monash 2004 Cambridge 2005 Others Government/ Local Authority Others Government/ Local Authority Research Student Student Research Unit: Thousand US Dollar Unit: Thousand US Dollar National University of Singapore 2006 Hokkaido 2006 Others Government Funding External Sources Student Unit: Thousand US Dollar Unit: Thousand US Dollar
บริการวิชาการ การวิจัย อื่น ๆ งบประมาณ ภาครัฐ งบประมาณ ภาครัฐ งบประมาณ ภาครัฐ งบประมาณ ภาครัฐ นักศึกษา เงินรายได้ รายได้อื่น ๆ นักศึกษา แหล่งที่มาของรายรับมหาวิทยาลัยในประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุรนารี ที่มา: รายงานประจำปี 2549 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มา: รายงานประจำปี 2549 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่มา: รายงานประจำปี 2548 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่มา: รายงานประจำปี 2548 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
New Revenue Streams : Case of US • Instructional initiatives. • Research and analysis initiatives. • Pricing initiatives. • Reforms in financial decision making and management. • Human resource initiatives. • Franchising, licensing, sponsorship, and partnering arrangements with third parties. • Initiatives in auxiliary enterprises, facilities, and real estate. • Development office initiatives.
Instructional Initiatives • New markets • corporate learners, • professional enhancement • learners, degree-completion adult • learners, pre-college (K–12) learners, • remediation and test-preparation learners, • and recreational learners • Virtual campus • “Brick”, “Click”, “Brick & Click”
การระดมทุน เพื่อการอุดมศึกษา อนาคต ? ที่มา : กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)
ระบบการเงินเพื่อการอุดมศึกษา : ไทย • Government Budget –Supply side • Income from Students – Demand side • Intellectual Properties • University Business แนวคิดการจัดตั้ง Revolving Funds • Other income
Government Budget –Supply side • หลักการ และ ระบบการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมควรจะเป็นอย่างไร โดยคำนึงว่า ระบบปัจจุบัน.... • ไม่เหมาะกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่มี ม/ส มากขึ้น & หลากหลาย • ไม่เอื้อให้ ม/ส ดำเนินการตามภารกิจ-เป้าหมายได้เต็มตามศักยภาพ • ไม่เป็นกลไกในการกำกับการพัฒนากำลังคนให้เหมาะสมกับความต้องการของประเทศ • ถูกกล่าวหาว่าไม่มีความเป็นธรรม • ฯลฯ • การจัดสรรงบประมาณควรเป็นหน้าที่ขององค์กรใด โดยคำนึงว่า ในระบบอุดมศึกษาที่พัฒนาแล้วทั้งหลาย จะมี Buffer body เพื่อการนี้ เช่น University Grant Commission, Higher Education Financial Council for England (HEFCE)
Income from Students –Demand side • หลักการ แบ่งรับภาระระหว่าง รัฐ กับ ผู้เรียน (ซึ่งเป็นตัวกำหนดค่าเล่าเรียน)โดยคำนึงถึง • สาขาวิชา vs ความต้องการของประเทศ • ต้นทุนการผลิต • ค่าใช้จ่ายต่อหัว • กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) • Income Contingent Loan (ICL)
Intellectual Properties • การฝึกอบรม • การเป็นที่ปรึกษา • การวิจัย – ทุนวิจัย, ให้บริการด้วยการวิจัย • การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา • โดยต้องมีหลักการ/ระบบที่จัดการเรื่องนี้ให้ชัดเจน และเป็นธรรมทั้ง ต่อฝ่ายผู้ให้บริการ-มหาวิทยาลัย-และสังคม • University Business Incubator (UBI) • Technology Licensing Office (TLO)
University Business Revolving Fund, Property Funds“กองทุนพัฒนาอุดมศึกษา” • แนวคิด • นักศึกษา 1.5 – 2 ล้านคน • ค่าใช้จ่ายส่วนตัว เดือนละ เฉลี่ย 5,000 บาท • เงินที่สะพัดอยู่ในส่วนนี้ เดือนละ 10,000 ล้านบาท • หรือปีละ 120,000 ล้านบาท • ซึ่งเป็นเงินที่ นศ. ต้องใช้เพื่อการยังชีพอยู่แล้ว • คำถาม: จะ “ต่อท่อ” เอาบางส่วนเป็นรายได้กลับเข้ามาในระบบได้อย่างไร
การระดมทุน เพื่อการอุดมศึกษา อนาคต ? ที่มา : กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)
University Business – Property Funds • แนวคิด • นักศึกษา ใช้เงินนี้เพื่อ • ที่อยู่อาศัย • อาหาร • เครื่องแต่งกาย • อุปกรณ์การเรียน • ถ้ามหาวิทยาลัย “เข้าหุ้น” เพื่อสร้างวิสาหกิจเพื่อตอบสนองความต้องการข้างต้น....เช่น หอพัก, Co-op, U-Bookstore, ศูนย์อาหาร, ศูนย์บันเทิง-กีฬา-Fitness, บริการห้องสมุดอนาคต (E-library), บริการด้าน ICT ฯลฯ
University Business – Property Funds แนวคิด – ทำอย่างไร • จัดตั้งกองทุน Property Fund โดยรัฐบาลลงทุนประเดิม 10,000 ล้านบาท?? • มหาวิทยาลัย “เข้าหุ้น” ในลักษณะต่างๆ -ตามความสมัครใจ • สิทธิการการดำเนินการกิจการต่างๆ • ที่ดิน เพื่อการก่อสร้าง (หอพัก, ศูนย์อาหาร, ศูนย์การค้า) • อาคารสถานที่เดิมที่มีอยู่แล้ว (เช่น หอพัก ฯลฯ) • กองทุน เป็นผู้บริหารกิจการ แบบ “มืออาชีพ” • มหาวิทยาลัยได้รับผลประโยชน์
มหาวิทยาลัย ร่วมลงทุนได้หลากหลายลักษณะ เช่น: เป็นเงิน ให้สิทธิในการดำเนินกิจการ (หอพัก, สินค้าลิขสิทธิ์ของ ม. เช่น เครื่องแบบ, ศูนย์การค้า, โรงอาคาร, ศูนย์กีฬา) ให้สิทธิในการใช้ที่ดิน อาคารสถานที่ เช่น หอพัก, หอประชุม การประกอบกิจการโดยมุ่ง (1) การพัฒนาคุณภาพชีวิต (2) สร้างรายได้คืนกลับให้มหาวิทยาลัย เช่น หอพัก สินค้า ศูนย์การค้า Co-op ศูนย์หนังสือ ศูนย์อาหาร แหล่งบันเทิง ศูนย์กีฬา ห้องสมุด (e-Library), UBI, TLO เป็นที่ปรึกษาการลงทุนให้ ม. ผลกำไร ระดมทุนจากภาคเอกชน กองทุนเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา Endowment จากรัฐบาล 10,000 ล้านบาท??
Kindle’s eBook Reader Apple’s iPad
Other Incomes ตัวอย่างของรายได้อื่นๆ • ค่าเช่า อาคารสถานที่บางมหาวิทยาลัยมีหอประชุมขนาดใหญ่ • โรงพยาบาล