1 / 17

Clinical Tracer “Prostate cancer”

Clinical Tracer “Prostate cancer”. อุบัติการณ์ของมะเร็งต่อมลูกหมาก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. อุบัติการณ์มะเร็งในผู้ชาย : มะเร็งต่อมลูกหมาก เลื่อนลำดับจากอันดับ 3 รองจากมะเร็งปอดและตับ ในปี 2545 มาเป็นอันดับ 1 ในปี 2549

zlata
Download Presentation

Clinical Tracer “Prostate cancer”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Clinical Tracer “Prostate cancer”

  2. อุบัติการณ์ของมะเร็งต่อมลูกหมากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลอุบัติการณ์ของมะเร็งต่อมลูกหมากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล • อุบัติการณ์มะเร็งในผู้ชาย : มะเร็งต่อมลูกหมาก เลื่อนลำดับจากอันดับ 3 รองจากมะเร็งปอดและตับ ในปี 2545 มาเป็นอันดับ 1 ในปี 2549 • ในปี 2549 มะเร็งต่อมลูกหมากพบ 16.01% หรือ 472 ราย และ 53.8% เป็นมะเร็งระยะแรก • มะเร็งต่อมลูกหมากพบมากในอายุ 60-79 ปี

  3. Radical Prostatectomy

  4. Clinical Tracer “Prostate cancer” บริบท 1. ศิริราชมีศักยภาพและเป็นผู้นำด้านการผ่าตัด Laparoscopic radical prostatectomy และ Robotic Assisted LRP 2. มีความพร้อมในการรักษาด้วย Radiation Therapy 3. สามารถตรวจพบโรคได้ในระยะเริ่มแรก และรักษาหายขาดได้ 4. มีผู้ป่วยส่งต่อมารักษามากขึ้น ขณะนี้เป็นมะเร็งอันดับ 1 ของสาขา 5. ผู้ป่วย VIP เป็นโรคนี้มาก และต้องการทางเลือกในการตรวจรักษาที่ดีที่สุด 6. มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต เป้าหมาย ความเป็นเลิศในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก

  5. กระบวนการดูแลผู้ป่วยมีประเด็นสำคัญ ดังนี้ 1. ความตระหนักของประชาชนในการตรวจเช็คมะเร็งต่อมลูกหมาก รณรงค์ผ่านวิธีการและสื่อต่างๆ 2. การรักษาแบบครบวงจร โดย Multidisciplinary Team เพื่อให้ผู้ป่วยมีทางเลือกที่ดีที่สุด การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และวางแนวทางการรักษาร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ

  6. กระบวนการดูแลผู้ป่วยมีประเด็นสำคัญ ดังนี้ 3. การป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น Urinary incontinence, Erectile Dysfunction และ abdominal distension เป็นต้น การใช้ Robotic Surgery 4. การฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และการป้องกัน recurrence ของโรค การพัฒนา Discharge planning model จากกระบวนการ R2R โดย care team

  7. กระบวนการบริการ มีประเด็นสำคัญ ดังนี้ 1. การบริการที่สะดวก และรวดเร็ว ตั้งแต่ที่จอดรถ การทำบัตร การรอแพทย์ รอ lab รอตรวจพิเศษ รอเตียง และรอจำหน่าย ขอนโยบายคณะเพื่อพัฒนา Fast Tract for VIP 2. การได้รับข้อมูลและเอาใจใส่จากแพทย์เจ้าของไข้ สร้างคู่มือที่ให้ข้อมูลรายละเอียดแก่ผู้ป่วยและญาติ 3. สิทธิ์ในการเบิกค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม

  8. กระบวนการพัฒนาคุณภาพ มีประเด็นสำคัญ คือ 1. การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยเฉพาะคุณภาพชีวิต พัฒนาแบบประเมินคุณภาพชีวิตและแนวทางการป้องกัน-แก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต 2. การดูแลโดยทีมสหสาขาที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาความรู้ความสามารถของทีมโดยการประชุม และ ทำวิจัยร่วมกัน ทำ care map การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมาก 3. ฐานข้อมูลผู้ป่วยที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถใช้พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และเป็นผลงานวิชาการได้ ร่วมกับฝ่ายวิจัยของคณะ เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลอิเลคโทรนิก ที่มีประสิทธิภาพ

  9. หลักการพัฒนาคุณภาพโดยรวมหลักการพัฒนาคุณภาพโดยรวม 1. การใช้ Evidence Based Practiceโดยยึดตาม CPG ของ National Comprehensive Cancer Network ปี 2005 2. การพัฒนาดัชนีชี้วัด และประเมินติดตามอย่างสม่ำเสมอ เพื่อแสดงคุณภาพ ประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย ตลอดจนระยะทางที่จะไปยังเป้าหมายที่ตั้งไว้ และสามารถ Benchmarking กับนานาอารยประเทศได้

  10. ระบบหรือองค์ประกอบสนับสนุนที่สำคัญระบบหรือองค์ประกอบสนับสนุนที่สำคัญ 1. นโยบายของคณะ เพื่อสนับสนุนทรัพยากรสำคัญที่ทำให้บรรลุผลสู่ความเป็นเลิศ คณะลงทุนซื้อเครื่อง Robot “da Vinci S”ราคา 80 ล้านบาท เมื่อธันวาคม 2549 2. การพัฒนาบุคลากร ทั้งแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสามารถให้บริการที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย ทีมแพทย์ไปฝึกอบรมดูงานเรื่อง Robotic Surgery ในสถาบันชั้นนำระดับนานาชาติ 3. การปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อม เพื่อสามารถให้บริการได้สะดวก รวดเร็ว เป็นที่ประทับใจของผู้รับบริการ ภาควิชาให้ห้องผ่าตัด 1 ห้อง สำหรับ Robotic Surgery

  11. ระบบหรือองค์ประกอบสนับสนุนที่สำคัญระบบหรือองค์ประกอบสนับสนุนที่สำคัญ 1. การประชาสัมพันธ์ และลูกค้าสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในการมาตรวจคัดกรอง เกิดความศรัทธามารับการรักษา และมีความผูกพัน เพื่อรักษาอย่างต่อเนื่อง การแถลงข่าวความสำเร็จในการใช้ Robotic Assisted LRP การให้ข้อมูลความรู้ผ่านสื่อต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ การจัดประชุม อบรม บรรยาย นิทรรศการ สำหรับแพทย์และประชาชนในโอกาสต่างๆ 2. ผลงานด้านวิจัยวิชาการ เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการระดับประเทศและนานาชาติ ผลงานวิชาการในวารสารต่างๆ ในปี2549 5 เรื่อง, ปี2550 7 เรื่อง

  12. แนวทางพัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืนแนวทางพัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน 1. คลินิกมะเร็งต่อมลูกหมากที่ให้บริการแบบครบวงจร โดยทีมสหสาขา และเป็น one stop service โดยแยกระหว่างผู้ป่วยทั่วไปกับผู้ป่วย VIP ซึ่งมีบรรยากาศการบริการเทียบเท่าโรงพยาบาลเอกชนชั้นนำ 2. มีระบบนัดหมายที่มีประสิทธิภาพ ทั้งการตรวจและการผ่าตัด ผู้ป่วย VIP มีระบบ Fast tract

  13. แนวทางพัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืนแนวทางพัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน 3. มีการผ่าตัดนอกเวลาราชการ ในราคาที่ต่ำกว่าโรงพยาบาลเอกชน แต่บริการเทียบเคียงกับเอกชน 4. ให้บริการผู้ป่วยต่างชาติ 5. การฝึกอบรม Fellow และพยาบาลเฉพาะทาง

  14. ดัชนีชี้วัด ตามประเด็นคุณภาพที่สำคัญ คือ จำนวนผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากระยะแรกมารักษาที่ศิริราชมากขึ้น 1. ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างมีคุณภาพในทุกขั้นตอน มีผลการรักษาดี มีภาวะแทรกซ้อนน้อย สามารถเทียบเคียงกับนานาประเทศได้ 2. ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาตาม international guideline 3. การให้การดูแลรักษาได้ทุกรูปแบบ 4. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย 5. อัตราผู้ป่วยมี recurrence หลังผ่าตัด radical prostatectomy ภายใน 5 ปี 6. จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจคัดกรอง, ผู้ป่วยที่ส่งต่อมารักษาที่ศิริราช และผู้ป่วย VIP

  15. 30 ราย 22.2% 60 ราย 19.3% (เป้าหมาย 10%) 1. Positive margin ใน T2 2. Nerve sparing with free margin 3. Rate of incontinence at 6 mt. < 20% 4. Rate of ED at 12 mt. < 40% 5. Rate of biochemical failure 30 ราย 80% 60 ราย 75% KPI – ดัชนีชี้วัดการผ่าตัด Radical Prostatectomy

  16. ผลการผ่าตัด Robotic Assisted LRP ช่วงเวลา 16 กุมภาพันธ์ – ตุลาคม 2550 จำนวนผู้ป่วย 1 ราย Average OR time 356 min (250-690) Average LOS 9.1 วัน (7-12 วัน) จำนวนแพทย์ผ่าตัด 6 คน Average or time : case 1-10 = 390 min case 51-60 = 350 min case 91-100 = 312 min

  17. Laparoscopic RPVS Robotic Assisted RP

More Related