540 likes | 755 Views
กองทุน FTA กับการเสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ๕ เมษายน 2555 ณ โรงแรมมณีจันทร์ รีสอร์ท จังหวัดจันทบุรี. การเปิดเสรีการค้า (FTA) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ.
E N D
กองทุน FTA กับการเสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC โดย นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ๕ เมษายน 2555 ณ โรงแรมมณีจันทร์ รีสอร์ท จังหวัดจันทบุรี
การเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆการเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ
การเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆการเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ
การเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆการเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ
ผลได้ - ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลง - สินค้าวัตถุดิบนำเข้าราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก - เกษตรกร/ ผู้ประกอบการ เกิดการปรับตัวทางการผลิต ทำให้สามารถแข่งขันได้
ผลเสีย - เกษตรกรบางสาขาอาจได้รับผลกระทบด้าน-สินค้าเกษตร ตกต่ำเมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูก คุณภาพต่ำ - สินค้าเกษตรที่มีประสิทธิภาพการผลิต/ผลผลิตต่อไร่ต่ำกว่า เพื่อนบ้านอาจแข่งขันไม่ได้ เช่น กาแฟ - มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และความ ปลอดภัยด้านอาหารจะถูกหยิบยกมาเป็นเงื่อนไขในการค้า มากขึ้น
สถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับตลาดโลกสถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับตลาดโลก ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากรที่ 1-24
ตลาดส่งออกหลักสินค้าเกษตรไทยตลาดส่งออกหลักสินค้าเกษตรไทย ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากรที่ 1-24
การค้าสินค้าเกษตรไทยกับประเทศในอาเซียน ปี 2553 หมายเหตุ: สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากร 01-24
การค้าสินค้าเกษตรไทยกับอาเซียน ปี 2554 (ม.ค. – พ.ย.) หน่วย:ล้านบาท ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คำนวณจากสถิติการค้าสินค้าของกรมศุลกากร หมายเหตุ:สินค้าเกษตรในที่นี้ หมายถึงสินค้าพิกัดศุลกากร 01-24 รวมยางพารา
เมื่อปี 2535 มีการจัดตั้ง AFTA ซึ่งเป็นการริเริ่มเขตการค้าเสรีอาเซียน ปี 2553 ไทย ต้องลดภาษีนำเข้าเหลือร้อยละ 0 และยกเลิกโควตา ปี 2558 จัดตั้งเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)เปิดเสรีการค้า บริการ แรงงาน และทุน ASEAN
แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร (บทบาทภาครัฐ) • ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร • ขั้นที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ • (ปรับโครงสร้างการผลิตให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTAกษ.) • ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ • (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)
แนวทางการปรับตัวของเกษตรกรแนวทางการปรับตัวของเกษตรกร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • ลดต้นทุนการผลิต • ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (สอดคล้องกับความต้องการของตลาด) • ผลิตสินค้าที่หลากหลายเพื่อลดความเสี่ยง • แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า หรือเก็บรักษาได้นานขึ้น • ปรับเปลี่ยนอาชีพ • น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ
บทบาทภาครัฐ การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน (มาตรการเชิงรุก) 1. ส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแก่เกษตรกร (ระบบน้ำ/ ระบบชลประทาน ปุ๋ย วิจัยและพัฒนาพันธุ์ดี) 2. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่สากล3. สนับสนุนผู้ผลิตรายย่อยเข้าสู่ระบบมาตรฐาน 4. สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มและผลิตสินค้าที่หลากหลายเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันในตลาดโลก5. ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้กับเกษตรกร6. สนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร โดยใช้เงินกองทุน FTA 7. ส่งเสริมการทำเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้ เกษตรกร
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ FTA
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ ตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547 สร้างขีดความ สามารถในการ แข่งขันให้กับ สินค้าเกษตร • - เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ปฏิรูปผลิตผลทางการเกษตร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • และพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร • - เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม • สินค้าเกษตร • เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร • ปรับเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า • ที่ไม่มีศักยภาพสู่สินค้าที่มีศักยภาพ • - สนับสนุนปัจจัยการผลิต • และเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา • ให้ความรู้ ฝึกอบรม • และดูงาน • ให้การสนับสนุนด้าน • โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร • - ปรับเปลี่ยนอาชีพ วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ การสนับสนุน
กองทุน FTA เสริมสร้างการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2549-2554 17
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • 1. เสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าสุกร • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค้าสุกร • ผู้ดำเนินโครงการ ชุมนุมสหกรณ์การปศุสัตว์ภาคตะวันออก จำกัด ประกอบด้วย • สหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา • สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง • สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและการปศุสัตว์ตราด จำกัด • ระยะเวลาดำเนินงาน 4ปี • รวมระยะเวลาโครงการ 10 ปี • งบประมาณ 29.88ล้านบาท • จ่ายขาด 4.74 ล้านบาท • เงินยืมปลอดดอกเบี้ย 25.14 ล้านบาท (ปลอดการชำระคืนเงินต้น 2 ปี เริ่มชำระคืนปีที่ 3 – 10)
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมดำเนินการ 6 กิจกรรม • กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิก ปีละ 640คน4 ปีรวม2560คน • หลักสูตร • การผลิตสุกรให้มีคุณภาพด้วยการผลิตอาหารสุกรคุณภาพ • การพัฒนาการจัดการฟาร์มเพื่อให้ได้รับการรับรองจากกรมปศุสัตว์ • การผสมเทียมสุกร • โรคและการควบคุมโรคและพยาธิสุกร • การพัฒนาการตลาดสุกรและผลิตภัณฑ์ • การผลิตอาหารสุกรคุณภาพ • การดูงานนอกสถานที่ฟาร์มสุกรสมาชิกสหกรณ์ที่ได้มาตรฐานและประสบผลสำเร็จ
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 2จัดตั้งศูนย์การผลิตอาหารสัตว์ครบวงจรสำหรับสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและเกษตรกรในเขตภาคตะวันออก • ดำเนินการโดยสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด ทำการผลิตอาหารสัตว์คุณภาพดีราคายุติธรรม กำลังการผลิต 45 ตัน/วัน จำหน่วยให้สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรภาคตะวันออกทั้งระบบ • กิจกรรมที่ 3จัดตั้งศูนย์จำหน่ายเนื้อสุกรคุณภาพดี ราคายุติธรรม ของสหกรณ์การปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา เพื่อพัฒนาระบบการตลาดสุกรมีชีวิตและการตลาดเนื้อสุกรที่ผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ให้ถึงผู้บริโภคโดยตรง และเพื่อเป็นการลดผลกระทบจากการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 4การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสุกรแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ • ดำเนินการโดยสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด โดยแปรรูปเนื้อสุกรให้เป็นไส้กรอกและผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรอื่นๆ รวมทั้งการพัฒนาระบบการตลาดของผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร เพื่อการเพิ่มมูลค่าเนื้อสุกรให้มากขึ้น รวมทั้งการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายเนื้อสุกรให้กว้างขวาง • กิจกรรมที่ 5การเพิ่มศักยภาพการเลี้ยงสุกร และสถานที่จำหน่ายสุกรชำแหละเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารของสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง จำกัด • ดำเนินการโดยสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง จำกัด โดยพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณ์ให้ได้มาตรฐานของกรมปศุสัตว์ รวมทั้งการพัฒนาระบบการตลาดเพื่อการจัดจำหน่ายเนื้อสุกรสะอาดและปลอดภัยที่ผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ให้ถึงมือผู้บริโภคโดยตรง
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 6การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรการปศุสัตว์ตราด จำกัด • ดำเนินการโดยสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรการปศุสัตว์ตราด จำกัด ในการพัฒนาการเลี้ยงสุกร โดยการฝึกอบรมสมาชิกในเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกรเพื่อให้ได้ซากสุกรคุณภาพดีมีมาตรฐานสูงขึ้นตามข้อกำหนดของกรมปศุสัตว์
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • ตัวชี้วัดโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรและสมาชิกสหกรณ์ สามารลดต้นทุนการผลิตสุกรมีชีวิตต่อตัวลดลงได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 5% เปรียบเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรและสมาชิกสหกรณ์ มีรายได้จากการจำหน่ายสุกรมีชีวิตต่อตัวเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5% เปรียบเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการ
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • สมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรได้รับการพัฒนาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตสุกรให้สูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง มีคุณภาพซากตามความต้องการของตลาด สามารถดำรงธุรกิจอยู่ได้แม้ในสภาวะที่มีการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต • สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรได้มีการเชื่อมโยงการดำเนินธุรกิจระหว่างกัน • ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นคุณภาพสุกรของสมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • 2. เสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าโคเนื้อ • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคขุนมาตรฐานฮาลาล • ผู้ดำเนินโครงการ สหกรณ์โคขุนสระแก้ว นทพ. จำกัด • ระยะดำเนินงาน 5 ปี • ระยะเวลาโครงการ 10 ปี • งบประมาณโครงการ 29.51 ล้านบาท • จ่ายขาด 1.27 ล้านบาท • เงินยืมปลอดดอกเบี้ย 28.24 ล้านบาท (ปลอดการชำระคืนเงินต้น 3 ปี เริ่มชำระคืน ปีที่ 4-10)
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมดำเนินการ 3 กิจกรรม • กิจกรรมที่ 1การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงโคเนื้อครบวงจรสู่ระบบมาตรฐานฟาร์ม (GAP) • เป้าหมาย • ดำเนินการฝึกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงโคเนื้อขุนครบวงจรสู่มาตรฐานฟาร์ม (GPA) ให้แก่สมาชิกสหกรณ์โคขุนสระแก้ว นทพ. จำกัด และเกษตรกรผู้สนใจในภาคตะวันออก ได้แก่ ฉะเชิงเทรา สระบุรี ชลบุรี จันทบุรี ระยอง และตราด ปีละ 60คน จำนวน 5 ปี รวมผู้ผ่านการอบรม 300คน
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 2 การสนับสนุนปัจจัยหลักให้กับผู้เลี้ยงโคเนื้อ Cow For Cash • เป้าหมาย • เพิ่มฝูงแม่โคเนื้อพันธุ์ดี ขึ้นร้อยละ 30% ต่อปี • ผลิตโคเนื้อขุนคุณภาพดี เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 % ต่อปี • วิธีดำเนินงาน • สหกรณ์สนับสนุนปัจจัยหลักให้เจ้าของแม่โคที่นำมาขึ้นทะเบียนกับสหกรณ์ โดยจ่ายเงินสนับสนุนปัจจัยการผลิตลูกโคให้แก่เจ้าของแม่โคตัวละ 2,000 บาท ต่อลูกโค 1 ตัว
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 3เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคขุนมาตรฐานฮาลาล • เป้าหมาย • สร้างจุดจำหน่ายเนื้อโคขุน และผลิตภัณฑ์แปรรูป (SK Butcher Shop) จำนวน 5แห่ง จังหวัดละ 1แห่ง ได้แก่ จังหวัดสระแก้ว จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด
กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • ประโยชน์ที่ขาดว่าจะได้รับ • การผลิตโคเนื้อขุนของสมาชิกสหกรณ์ทั้งระบบในภาคตะวันออก • มีประสิทธิภาพสูงขึ้น คุณภาพซากโคเนื้อดีขึ้น ทัดเทียมมาตรฐาน • สมาชิกสหกรณ์มีความมั่นใจในอาชีพ และให้ความร่วมมือทำธุรกิจกับสหกรณ์มากขึ้น สามารถดำเนินการในพื้นที่เขตภาคตะวันออกเป็นพื้นที่ปลอดโรค ตามนโยบายของภาครัฐ • ผู้บริโภคมีความมั่นใจในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ ซึ่งเป็นการสนับสนุนการดำเนินการตามนโยบาย ความปลอดภัยด้านอาหารของรัฐ • ทำให้สมาชิกสหกรณ์ที่มีอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อมีความมั่นคงอย่างยั่งยืนสามารถผลิตเพื่อการส่งออกโคมีชีวิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) ดำเนินการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับผลกระทบจาการเปิดเสรีการค้า จำนวน 7 สินค้า 14 โครงการ งบประมาณรวม 544.31 ล้านบาท ได้แก่ โคเนื้อ โคนม สุกร ชา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ และข้าว รายละเอียด ดังนี้
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ปัญหาที่ผ่านมาของกองทุนฯ มุมมองของผู้เสนอโครงการ - อนุมัติโครงการช้า - อนุมัติโครงการยาก - งบประมาณน้อย - ไม่เป็นที่รู้จัก (ประชาสัมพันธ์ไม่กว้างขวาง) - หน่วยระดับกรมไม่ประสงค์เป็นเจ้าของโครงการ - ฯลฯ มุมมองของกองทุนฯ - โครงการเสนอขอรับการสนับสนุนมีไม่มาก - คุณภาพโครงการยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่จะได้รับการอนุมัติ - ฯลฯ
แนวทางการแก้ไข • ลดช่องว่างระหว่างผู้เสนอโครงการและเจ้าหน้าที่กองทุนฯ • ประเมินกองทุนฯ (Assessment) • - จุดเด่น พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น • - จุดด้อย ปรับปรุง แก้ไข • กำหนดบทบาทกองทุนฯ (กองทุนควรปรับตัวอย่างไร) • เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
องค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันการสนับสนุนของประเทศ • - พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกษตรกรหน่วยงาน ของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับการสนับสนุน • กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองทุน ติดตาม ผลการดำเนินงานของโครงการที่ได้รับอนุมัติ • ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการเสนอขอรับเงินสนับสนุนกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • กำหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา กลั่นกรองความเหมาะสมของโครงการ • ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯมอบหมาย อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ • - กำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองทุน ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ให้ความเห็นชอบการจัดทำแผนประชาสัมพันธ์ โครงการต่างๆ • เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจร เพื่อกระจายข่าวสาร อำนาจหน้าที่ 44
ขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร 1 2 3 4 เสนอผ่าน เสนอผ่าน เกษตรกร หน่วยงานของ รัฐ ภาคเอกชน จัดทำโครงการตามหัวข้อเค้าโครงข้อเสนอโครงการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวบรวมตรวจสอบวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ แก้ไขปรับปรุง หน่วยงานที่รับผิดชอบตามสายงานเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ 5 7 6 ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่เห็นชอบ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างฯ เพื่ออนุมัติโครงการ ผ่าน เห็นชอบ เห็นชอบ 8 9 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จัดสรรเงินเป็นรายปี ตามแผนปฏิบัติงาน/ แผนการใช้เงิน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ติดตามการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน และรายงานคณะกรรมการบริหารกองทุน อนุมัติ
เป็นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ • องค์กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้องได้รับผลกระทบ • โดยตรงหรือโดย อ้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า • หากเป็นเกษตรกรต้องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ • องค์กรเกษตรกรที่ได้รับการยอมรับจากส่วนราชการ สถาบัน เกษตรกระและภาคเอกชนต้องเสนอโครงการผ่านส่วนราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน • กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่วยงานของรัฐ • ต้องเป็นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดำเนินการปรับโครงสร้าง • การผลิตเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าและเป็น • โครงการที่เกิดจากความต้องการหรือการมีส่วนร่วมของเกษตรกร • เป็นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้านการผลิตและการตลาด • หากเป็นโครงการวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์หรือวิจัยด้าน • การตลาด ที่ให้ผลการวิจัยไม่เกิน 1 ปี • กรณีเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม • จะต้องให้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่ากิจกรรมเดิม • เป็นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ที่จะ • ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันได้ หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ
กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงินกรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นำร่อง ค่าใช้จ่ายต่างๆ สำหรับงานวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หรือการวิจัยด้านการตลาด โดยมีผลวิจัยในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ วิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic Research) ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา ดูงาน ค่าใช้จ่ายดำเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายงานราชการตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ โครงการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบุข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ บริหารกองทุน
กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน (ต่อ) เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการที่ริเริ่มใหม่ รวมทั้งกรณีจูงใจให้เกิดการผลิต หรือเปลี่ยนแปลงการผลิต ●ค่าใช้จ่ายที่สนับสนุนได้แก่ -ค่าลงทุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครื่องมือ อุปกรณ์ -ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต ●กรณีกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองทุนจะชดเชย ดอกเบี้ยให้ทั้งหมด ●วงเงินให้ยืมและกำหนดการชำระคืนให้เป็นไปตามลักษณะการดำเนินงาน/ ความจำเป็นของแต่ละโครงการ เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุน โดยวงเงินให้ยืม กำหนดการชำระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการ บริหารกองทุนฯ
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯหัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ ชื่อโครงการชื่อเรื่องของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ เจ้าของโครงการหน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ เป็นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบุคคลที่ ดำเนินการด้านเกษตร) หลักการและเหตุผล แสดงถึงเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดทำโครงการเพื่อลด ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAAFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง ชี้แจงให้ชัดเจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทำให้มีการนำเข้า สินค้านั้น จากประเทศที่ทำข้อตกลงทางการค้านับตั้งแต่วันลงนาม เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดำเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ ต่อเกษตรกรอย่างไร วัตถุประสงค์ แสดงถึงจุดมุ่งหมายของการดำเนินโครงการว่าทำเพื่ออะไร สามารถแก้ไขปัญหาอะไร วิธีดำเนินการ แสดงถึงรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดำเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก กิจกรรมเป็นรายปี)
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสนุนมาจากกองทุนฯ (ต่อ) เป้าหมาย/ขอบเขต ระบุถึงจำนวน/ปริมาณ/กลุ่มพื้นที่ที่ต้องการดำเนินการ การดำเนินงาน ในโครงการ ระยะเวลาโครงการ แสดงถึงระยะเวลาที่กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ แสดงถึงจำนวนระยะเวลาในการดำเนินการ เริ่มต้นตั้งแต่ปีไหน สิ้นสุดปีไหน (รวมระยะเวลาชำระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ ขอสนับสนุนเป็นเงินหมุนเวียนด้วย) งบประมาณ แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ กิจกรรมตามวิธีการดำเนินงาน (กรณีระยะเวลาดำเนิน โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี) และ แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/ เงินยืมและต้องระบุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชัดเจน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ แสดงถึงผลของการดำเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร เป็นผู้ได้รับและลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด สมควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ