1 / 67

การบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารหนี้

การบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารหนี้. ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล. เงินลงทุนในตราสารหนี้. 1 ลักษณะของตราสารหนี้ 2 การตัดส่วนเกินและส่วนลดมูลค่า 3 มูลค่าที่ใช้บันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อ 4 การแสดงรายการในงบการเงินณ วันสิ้นงวด 5 การจำหน่าย. 6 การแปลงสภาพ. เงินลงทุนในหลักทรัพย์.

Download Presentation

การบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารหนี้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบัญชีสำหรับเงินลงทุนการบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารหนี้ ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล

  2. เงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินลงทุนในตราสารหนี้ 1 ลักษณะของตราสารหนี้ 2 การตัดส่วนเกินและส่วนลดมูลค่า 3 มูลค่าที่ใช้บันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อ 4 การแสดงรายการในงบการเงินณ วันสิ้นงวด 5 การจำหน่าย 6 การแปลงสภาพ

  3. เงินลงทุนในหลักทรัพย์เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินลงทุน (Investment): สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อเพิ่มความมั่งคั่งให้กับผู้ลงทุน

  4. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามลักษณะ 1. หลักทรัพย์ตราสารหนี้(Debt Securities) 2. หลักทรัพย์ตราสารทุน (Equity Securities)

  5. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามสถานที่ซื้อ 1. หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 2. หลักทรัพย์ที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด

  6. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามระยะเวลา 1. เงินลงทุนชั่วคราว(Temporary Investment) 2. เงินลงทุนระยะยาว(Long-term Investment)

  7. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามวัตถุประสงค์ 1. หลักทรัพย์เพื่อค้า 2. หลักทรัพย์เผื่อขาย 3. เงินลงทุนทั่วไป 4. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด

  8. สรุปการจัดประเภทของเงินลงทุนสรุปการจัดประเภทของเงินลงทุน ระยะยาว ชั่วคราว เงินลงทุนใน หลักทรัพย์ • / เผื่อขาย • / ถือจนครบกำหนด ตราสารหนึ้ เพื่อค้า / เผื่อขาย / จะถึงกำหนด 1ปี ตราสารทุน (<20%) เพื่อค้า / เผื่อขาย / ทั่วไป - / เผื่อขาย / ทั่วไป ตราสารทุน (20-50%) - บริษัทร่วม ตราสารทุน (>50%) บริษัทย่อย -

  9. เงินลงทุนในตราสารหนี้ (Investment in Debt Securities)

  10. ลักษณะของตราสารหนี้ 1. ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ในตราสาร เท่ากับ อัตราผลตอบแทนปัจจุบัน ราคาขายของตราสารหนี้นั้นจะ เท่ากับ ราคาที่ตราไว้ 2. ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ในตราสาร สูง กว่าอัตราผลตอบแทนปัจจุบัน ราคาขายของตราสารหนี้นั้นจะ สูง กว่าราคาที่ตราไว้ หรือมี ส่วนเกินมูลค่า (Premium) 3. ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ในตราสาร ต่ำ กว่าอัตราผลตอบแทนปัจจุบัน ราคาขายของตราสารหนี้นั้นจะ ต่ำ กว่าราคาที่ตราไว้ หรือมี ส่วนลดมูลค่า (Discount)

  11. การตัดส่วนเกินและส่วนลดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้การตัดส่วนเกินและส่วนลดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ (Amortization of Premiums and Discounts on Debt Security) บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด บันทึกตัดส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด Cr. ดอกเบี้ยรับ ใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective Interest Method) หรือวิธีอื่น (วิธีเส้นตรง Straight Line Method) หากให้ผล ใกล้เคียงกับวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

  12. ตัวอย่างที่ 23 หน้า 35วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง วันที่ ดอกเบี้ยรับจากหุ้นaดอกเบี้ยที่แท้จริงb ส่วนเกินตัดจำหน่ายc ราคาทุนตัดจำหน่ายd 51,229.36 1ม.ค.41 3,250 3,250 3,250 3,250 3,250 3,250 3,073.76 176.24 30มิ.ย.41 51,053.12 31ธ.ค.41 186.81 3,063.19 50,866.31 3,051.98 198.02 50,668.29 3,040.10 209.90 50,458.39 3,027.50 222.50 50,235.89 3,014.11 235.89 30มิ.ย.42 31ธ.ค.42 30มิ.ย.43 50,000.00 31ธ.ค.43 การคำนวณ a 50,000 x 0.13 x 6/12 = 3,250 b ราคาทุนตัดจำหน่ายของงวดก่อน x 0.12 x 6/12 c ดอกเบี้ยรับจากหุ้น หัก ดอกเบี้ยที่แท้จริง B ราคาทุนตัดจำหน่ายของงวดก่อน หัก ส่วนเกินตัดจำหน่ายในงวดปัจจุบัน

  13. ตัวอย่างที่ 25 หน้า 38 วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง วันที่ ดอกเบี้ย ดอกเบี้ย ส่วนลดตัด ราคาทุนตัด รับ แท้จริง จำหน่าย จำหน่าย 188,346 1มี.ค.39 24,000 24,000 24,000 24,000 26,368 1มี.ค.40 1มี.ค.41 1มี.ค.42 1มี.ค.43 2,368 190,714 193,414 196,492 200,000 26,700 27,078 27,509 2,700 3,078 3,508

  14. บันทึกการตัดส่วนลด = 2,368 x 10 /12 = 1,973 31ธ.ค.39 = 2,368 x 2 /12 = 395 1 มี.ค.40 31ธ.ค.40 1 มี.ค.41 31ธ.ค.41 1 มี.ค.42 31ธ.ค.42 1 มี.ค.43 = 2,700 x 10 /12 = 2,250 = 2,700 x 2 /12 = 450 = 3,078 x 10 /12 = 2,565 = 3,078 x 2 /12 = 513 = 3,508 x 10 /12 = 2,923 = 3,508 x 2 /12 = 585

  15. ตัวอย่างที่ 26 หน้า 39 วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง วันที่ ดอกเบี้ย ดอกเบี้ย ส่วนลดตัด ราคาทุนตัด รับ แท้จริง จำหน่าย จำหน่าย 480,448 31มี.ค.44 481,854 6,406 5,000 1 มิ.ย.44 1 ธ.ค.44 1มิ.ย.45 1 ธ.ค.45 1 มิ.ย.46 1,406 486,128 490,573 495,196 500,000 15,000 15,000 15,000 15,000 19,274 19,445 19,623 19,804 4,274 4,445 4,623 4,804

  16. บันทึกการตัดส่วนลด = 1,406 1 มิ.ย.44 = 4,274 1 ธ.ค.44 31ธ.ค.44 1 มิ.ย.45 1 ธ.ค.45 31ธ.ค.45 1 มิ.ย.46 = 4,445 x 1/6 = 741 = 4,445 x 5/6 = 3,704 = 4,623 = 4,804 x 1/6 = 801 = 4,804 x 5/6 = 4,003

  17. ตัวอย่างที่ 32 หน้า 42 วันที่ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยที่แท้จริง ส่วนเกินตัดจำหน่าย ราคาทุน 13% 12% ตัดจำหน่าย 1 เม.ย.41 204,575.07 30มิ.ย.41 6,500a 6,137.25 362.75 204,212.32 31ธ.ค.41 13,000 12,252.74 747.26 203.465.06 30มิ.ย.42 13,000 12,207.90 792.10 202,672.96 31ธ.ค.42 13,000 12,160.38 839.62 201,833.34 30มิ.ย.43 13,000 12,110.00 890.00 200,943.34 31ธ.ค.43 13,000 12,056.66 943.34 200,000 a นับจากวันที่ 1 เม.ย. 41 - 30 มิ.ย. 41 = 3 เดือน (หลังซื้อ)

  18. มูลค่าที่ใช้บันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อเงินลงทุนในตราสารหนี้ ต้นทุนของเงินลงทุนในตราสารหนี้เท่ากับ ราคาซื้อบวกค่าใช้จ่ายในการซื้อไม่รวมดอกเบี้ยคงค้าง ที่เกิดขึ้นก่อนการซื้อ ตัวอย่างที่ 31 หน้า 41 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/หลักทรัพย์เผื่อขาย/ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด (490,448-10,000) 480,448 ดอกเบี้ยรับ (500,000 x 6% x 4 /12 1 ธ.ค.43 - 31 มี.ค.44 ก่อนซื้อ) 10,000 Cr.. เงินสด 490,448

  19. ตัวอย่างที่ 30 หน้า 41 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/หลักทรัพย์เผื่อขาย/ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 204,575.07 ดอกเบี้ยรับ (200,000 x 13% x 3 /12 1 ม.ค.41-1 เม.ย.41 ก่อนซื้อ) 6,500 Cr.. เงินสด(204,575.07+6,500) 211,075.07 เฉลยหน้า 44 หลักทรัพย์เพื่อค้า ณ วันซื้อหุ้น 1 เม.ย.2541 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 204,575.07 ดอกเบี้ยรับ 6,500 Cr.เงินสด 211,075.07

  20. หลักทรัพย์เผื่อขาย ณ วันซื้อหุ้น 1 เม.ย.2541 Dr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 204,575.07 ดอกเบี้ยรับ 6,500 Cr.เงินสด 211,075.07

  21. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด ณ วันซื้อหุ้น 1 เม.ย.2541 Dr. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 204,575.07 ดอกเบี้ยรับ 6,500 Cr.เงินสด 211,075.07

  22. หลักทรัพย์เพื่อค้า 30 มิ.ย.2541 1. บันทึกรับดอกเบี้ย Dr. เงินสด 13,000 Cr. ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ 362.75 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 362.75

  23. หลักทรัพย์เผื่อขาย 30 มิ.ย. 2541 1. บันทึกรับดอกเบี้ย Dr. เงินสด 13,000 Cr. ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ 362.75 Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 362.75

  24. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 30 มิ.ย. 2541 1. บันทึกรับดอกเบี้ย Dr. เงินสด 13,000 Cr. ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ 362.75 Cr. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 362.75

  25. หลักทรัพย์เพื่อค้า 31 ธ.ค.2541 1. บันทึกรับดอกเบี้ย Dr. เงินสด 13,000 Cr. ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ 747.26 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 747.26 3. ดูตีราคาหลักทรัพย์

  26. หลักทรัพย์เผื่อขาย 31 ธ.ค. 2541 1. บันทึกรับดอกเบี้ย Dr. เงินสด 13,000 Cr. ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ 747.26 Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 747.26 3. ดูตีราคาหลักทรัพย์

  27. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 31 ธ.ค. 2541 1. บันทึกรับดอกเบี้ย Dr. เงินสด 13,000 Cr. ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ Dr. ดอกเบี้ยรับ 747.26 Cr. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 747.26

  28. การแสดงรายการเงินลงทุนในตราสารหนี้ในงบการเงิน ณ วันสิ้นงวด เงินลงทุนในหลักทรัพย์ งบดุล บัญชีรายการกำไร/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น หลักทรัพย์เพื่อค้า ใช้มูลค่ายุติธรรม รายได้/ค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน หลักทรัพย์เผื่อขาย ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล ใช้มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่จะถือ จนครบกำหนด ใช้ราคาทุนตัด จำหน่าย ไม่ปรากฏบัญชี ตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้า และ เผื่อขาย เพื่อให้ ราคาตามบัญชี(B.V.) เพิ่มขึ้น/ลดลงเท่ากับ มูลค่ายุติธรรม(F.V.)

  29. ตัวอย่างที่ 32 หน้า 42 (จากตัวอย่างที่ 30) ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2541 หุ้นกู้มีมูลค่ายุติธรรมเท่ากับ 204,500 บาท หลักทรัพย์เพื่อค้า B.V. (204,575.07 - 362.75 - 747.26) 203,465.06 F.V. 204,500 ตีราคาเพิ่ม 1,034.94 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 1,034.94 Cr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,034.94

  30. หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 1,034.94 Cr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,034.94 ตราสารหนี้จะถือจนครบกำหนด -

  31. หลักทรัพย์เพื่อค้า งบดุล 31 ธ.ค. 2541 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า(ราคายุติธรรม) 204,500 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค.2541 บวก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,034.94 บวก ดอกเบี้ยรับ 18,389.99

  32. หลักทรัพย์เผื่อขาย งบดุล 31 ธ.ค.2541 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย (ราคายุติธรรม) 204,500 ส่วนของผู้ถือหุ้น บวก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,034.94 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2541 บวก ดอกเบี้ยรับ 18,389.99

  33. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด งบดุล 31 ธ.ค. 2541 สินทรัพย์ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด (ราคาทุนตัดจำหน่าย) 203,465.06 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2541 บวก ดอกเบี้ยรับ 18,389.99

  34. หลักทรัพย์เพื่อค้า 30 มิ.ย. 2542 1. Dr.เงินสด 13,000 Cr.ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. Dr.ดอกเบี้ยรับ 792.10 Cr.หลักทรัพย์เพื่อค้า 792.10 31 ธ.ค. 2542 1. Dr.เงินสด 13,000 Cr.ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. Dr.ดอกเบี้ยรับ 839.62 Cr.หลักทรัพย์เพื่อค้า 839.62 3. ดูตีราคาหลักทรัพย์

  35. หลักทรัพย์เผื่อขาย 30 มิ.ย. 2542 1. Dr.เงินสด 13,000 Cr.ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. Dr.ดอกเบี้ยรับ 792.10 Cr.หลักทรัพย์เผื่อขาย 792.10 31 ธ.ค. 2542 1 Dr.เงินสด 13,000 Cr.ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. Dr.ดอกเบี้ยรับ 839.62 Cr.หลักทรัพย์เผื่อขาย 839.62 3. ดูตีราคาหลักทรัพย์

  36. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 30 มิ.ย. 2542 1. Dr.เงินสด 13,000 Cr.ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. Dr.ดอกเบี้ยรับ 792.10 Cr. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 792.10 31 ธ.ค. 2542 1. Dr.เงินสด 13,000 Cr.ดอกเบี้ยรับ 13,000 2. Dr.ดอกเบี้ยรับ 839.62 Cr. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 839.62

  37. 31ธ.ค.2542 มูลค่ายุติธรรมเท่ากับ 201,000 บาท ตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย ราคาตามบัญชีของหลักทรัพย์ (B.V.) (ต้นงวด+ซื้อ -ขาย -ตัดส่วนเกิน +ตัดส่วนลด) (ต้นงวด 204,500 ระหว่างงวดตัดส่วนเกิน 792.10 และ 839.62) = 204,500 - 792.10 - 839.62 = 202,868.28 ราคายุติธรรมของหลักทรัพย์ (F.V.) 201,000.00 บันทึกตีราคาลดลง 1,868.28

  38. 31 ธ.ค. 2542 หลักทรัพย์เพื่อค้า Dr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,868.28 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 1,868.28 หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,868.28 Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 1,868.28 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด ไม่มีการบันทึก

  39. หลักทรัพย์เพื่อค้า งบดุล 31ธ.ค. 2542 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า 201,000 งบกำไรขาดทุน 2542 หัก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,868.28

  40. หลักทรัพย์เผื่อขาย งบดุล 31ธ.ค. 2542 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย 201,000 ส่วนของผู้ถือหุ้น หัก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (Cr. 1,034.94 Dr. 1,868.26) 833.34 งบกำไรขาดทุน 2542 -

  41. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด งบดุล 31ธ.ค. 2542 สินทรัพย์ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 201,833.34 งบกำไรขาดทุน 2542 -

  42. การจำหน่ายเงินลงทุนในตราสารหนี้การจำหน่ายเงินลงทุนในตราสารหนี้ ณ วันขายหลักทรัพย์ บันทึก 3 รายการดังนี้ 1.บันทึกการตัดส่วนเกินส่วนลด 2.บันทึกดอกเบี้ย3.บันทึกการขาย 1. บันทึกบัญชีการตัดจำหน่ายส่วนเกิน/ส่วนลดมูลค่า ระยะเวลานับจากครั้งสุดท้ายที่ตัดไปแล้วก่อนวันขายถึงวันขาย เฉพาะสัดส่วนที่ขาย ตัดส่วนเกินDr. ดอกเบี้ยรับ XX Cr. หลักทรัพย์ XX ตัดส่วนลดDr. หลักทรัพย์ XX Cr. ดอกเบี้ยรับ XX

  43. 2.บันทึกดอกเบี้ย ดอกเบี้ยคงค้างนับจากงวดสุดท้ายที่ได้รับแล้วก่อนวันขายถึงวันขาย Dr. เงินสด XX Cr. ดอกเบี้ยรับ XX 3.บันทึกการขายหลักทรัพย์ Dr. เงินสด(ราคาขายสุทธิไม่รวมดอกเบี้ยคงค้าง) XX Dr./Cr.รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (ที่แสดงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตามสัดส่วนที่ขาย)XX Dr./Cr.รายการขาดทุน/กำไรที่เกิดขึ้นจากการขาย หลักทรัพย์(ผลต่าง) XX Cr. หลักทรัพย์(ราคาตามบัญชี เฉพาะสัดส่วนที่ขาย) XX

  44. ตัวอย่างที่ 33 หน้า 48 การตัดส่วนเกินมูลค่า และ การบันทึกดอกเบี้ยรับเป็นดังนี้ การตัดส่วนเกินมูลค่า 1 ก.ย. 2548 - 31 ธ.ค. 2548 (5,000 x 4/6) 3,333 1 ก.พ. 2549 (5,000 x 1/6 x 80,000/100,000) 667 1 มี.ค. 2549 (5,000 x 2/6 x 20,000/100,000) 333 1 ก.ย. 2549 (3,500 x 20,000/100,000) 700 31 ธ.ค. 2549 (1,500 x 4/6 x 20,000/100,000) 200 1 มี.ค. 2550 (1,500 x 2/6 x 20,000/100,000) 100

  45. การบันทึกดอกเบี้ยรับ การบันทึกดอกเบี้ยรับ 1 ก.ย. 2548 - 31 ธ.ค. 2548 ปรับปรุงดอกเบี้ยค้างรับ (100,000 x 6% x 4/12) 2,000 1 ม.ค. 2549 กลับรายการปรับปรุง 2,000 1 ก.พ. 2549 (80,000 x 6% x 5/12) 2,000 1 มี.ค. 2549 (20,000 x 6% x 6/12) 600 1 ก.ย. 2549 (20,000 x 6% x 6/12) 600 31 ธ.ค. 2549 ปรับปรุงดอกเบี้ยค้างรับ (20,000 x 6% x 4/12) 400 1 ม.ค. 2550 กลับรายการปรับปรุง 400 1 มี.ค. 2550 (20,000 x 6% x 6/12) 600

  46. ตัวอย่างที่ 34 หน้า 49 หลักทรัพย์เพื่อค้า 1 พ.ค. 2542 1.บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่า Dr. ดอกเบี้ยรับ 132.02 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า (792.10x4/6x50,000/200,000) 132.02 2.บันทึกดอกเบี้ยรับ Dr.เงินสด (50,000x13%x4/12) 2,166.67 Cr.ดอกเบี้ยรับ 2,166.67 3.บันทึกการขายหลักทรัพย์ มีต่อ

  47. 3.บันทึกการขายหลักทรัพย์3.บันทึกการขายหลักทรัพย์ Dr. เงินสด 52,000 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า (204,500 x 50,000 / 200,000) -132.02 50,992.98 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจาก การขายหลักทรัพย์ (ผลต่าง) 1,007.02

  48. หลักทรัพย์เผื่อขาย 1 พ.ค. 2542 1.บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้น Dr. ดอกเบี้ยรับ 132.02 Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 132.02 2.บันทึกดอกเบี้ยรับ Dr. เงินสด 2,166.67 Cr. ดอกเบี้ยรับ 2,166.67 3.บันทึกการขายหลักทรัพย์ มีต่อ

  49. 3.บันทึกขายหลักทรัพย์ Dr. เงินสด 52,000 รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (1,034.94 x 50,000 / 200,000) 258.74 Cr. รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ (ผลต่าง) 1,265.76 หลักทรัพย์เผื่อขาย (204,500 x 50,000 / 200,000) - 132.02 50,992.98

  50. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 1 พ.ค. 2542 1.บันทึกตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้น Dr. ดอกเบี้ยรับ 132.02 Cr. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 132.02 2.บันทึกดอกเบี้ยรับ Dr. เงินสด 2,166.67 Cr. ดอกเบี้ยรับ 2,166.67 3.บันทึกขายหลักทรัพย์ มีต่อ

More Related