410 likes | 2.48k Views
การเปรียบเทียบโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ข้าราชการท้องถิ่น และข้าราชการทหาร วันที่ ๓ พ.ค.๕๕ เวลา ๑๓๐๐ - ๑๔๓๐. สบค .กอ. รมน. 1. 2. 3. 4. 5. ลำดับการบรรยาย. ระบบการจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือน. การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการพลเรือน / ท้องถิ่น / ทหาร. การรับโอนข้าราชการ.
E N D
การเปรียบเทียบโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ข้าราชการท้องถิ่น และข้าราชการทหาร วันที่ ๓ พ.ค.๕๕ เวลา ๑๓๐๐ - ๑๔๓๐ สบค.กอ.รมน.
1 2 3 4 5 ลำดับการบรรยาย ระบบการจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือน การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการพลเรือน / ท้องถิ่น / ทหาร การรับโอนข้าราชการ การเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูง การประเมินผลการปฏิบัติราชการ สบค.กอ.รมน.
ระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ปัจจุบัน (พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑) อดีต (พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๓๕) ระดับสูง (C10, C11บส.) หน.สรก. ระดับทรงคุณวุฒิ(C10, C11 เดิม) วช/ชช ระดับ 11 (บส/ชช/วช) ระดับสูง (C9 บส.เดิม) ผอ.สำนัก/เทียบเท่า ระดับต้น (ระดับ 9 เดิม) บส. รองหน.สรก. ระดับ 10 (บส/ชช/วช) ระดับเชี่ยวชาญ(C9 เดิม) วช/ชช ระดับทักษะพิเศษ (C9 ขึ้นไป) ระดับ 9 (บส/ชช/วช) ระดับต้น (C8บก.เดิม) ผอ.กองหรือเทียบเท่า ระดับชำนาญการพิเศษ (C8เดิม) ว/วช ระดับ 8 (บก/ว/วช) ระดับอาวุโส (C7, C8 เดิม) ระดับชำนาญการ(C6, C7 เดิม) ว/วช ระดับ 7 (ว/วช) ระดับชำนาญงาน(C5, C6 เดิม) ระดับปฏิบัติการ(C3-C5 เดิม) ระดับ 3-5/6ว ระดับ 2-4/5/6 ระดับ 1-3/4/5 ระดับปฏิบัติงาน(C1-C4 เดิม) ประเภททั่วไป ประเภท อำนวยการ ประเภท วิชาการ ประเภท บริหาร สบค.กอ.รมน.
ระดับตำแหน่งตาม พ.ร.บ. 2535 ระดับตำแหน่งตาม พ.ร.บ. 2551 สายงานที่เริ่มต้นจากคุณวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี ระดับ 1 – 4 ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน (O1) ระดับ 5 – 6 ประเภททั่วไป ชำนาญงาน (O2) ระดับ 7 – 8 ประเภททั่วไป อาวุโส (O3) ระดับ 9 ขึ้นไป ประเภททั่วไป ทักษะพิเศษ (O4) สายงานที่เริ่มต้นจากคุณวุฒิปริญญาตรี / ปริญญาโท / ปริญญาเอก ระดับ 3 – 5 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ปฏิบัติการ (K1) ระดับ 6 – 7 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ชำนาญการ (K2) ระดับ 8 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ชำนาญการพิเศษ(K3) ระดับ 9 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ เชี่ยวชาญ (K4) ระดับ 10 – 11 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ทรงคุณวุฒิ (K5) สบค.กอ.รมน.
การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯการเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯ สบค.กอ.รมน.
การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯการเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯ สบค.กอ.รมน.
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) • รหัสตำแหน่ง • ประเภทตำแหน่ง • ชื่อสายงาน / ชื่อตำแหน่ง / ระดับตำแหน่ง • ลักษณะงานโดยทั่วไป : หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (ประกอบด้วย คุณวุฒิการศึกษา ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติราชการ หรืองานที่เกี่ยวข้อง คุณสมบัติพิเศษ) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง สบค.กอ.รมน.
ตัวอย่าง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) • 4-1-001-1 • ตำแหน่งประเภท :ทั่วไป • ชื่อสายงาน :ปฏิบัติงานธุรการ • ชื่อตำแหน่ง -เจ้าพนักงานธุรการ • ระดับ-ปฏิบัติงาน • ลักษณะงานโดยทั่วไป :ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอนและวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย .......... • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง :ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ / วิชาชีพเทคนิค /วิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน สบค.กอ.รมน.
ตัวอย่าง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) (ต่อ) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ • การบริการที่ดี • การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • การยึดมั่นในความถูกต้อง • การทำงานเป็นทีม สบค.กอ.รมน.
สมรรถนะ : การให้บริการ สบค.กอ.รมน.
ระดับสมรรถนะ ในแต่ละระดับตำแหน่ง สบค.กอ.รมน.
การรับโอนข้าราชการ • การโอนสามารถทำได้เมื่อผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุของทั้งสองฝ่ายได้ตกลงยินยอมในการโอน โดยให้แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ในระดับที่ไม่สูงกว่าเดิม และรับเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม ทั้งนี้ ไม่เกินอัตราเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่งที่รับโอนนั้น • ผู้ขอโอนต้องมีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) • กรณีผู้ขอโอนที่เริ่มต้นบรรจุจากระดับที่ต่ำกว่าปริญญาตรี หากจะโอนมาในตำแหน่งที่เริ่มต้นจากปริญญาตรี ในการเปลี่ยนตำแหน่งนั้นจะต้องผ่านกระบวนการที่ได้มาตรฐานตาม ที่ ก.พ. กำหนด (เช่นเดียวกับการสอบแข่งขัน ภาค ก. ภาค ข. ภาค ค.) สบค.กอ.รมน.
การเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูงการเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูง • มีตำแหน่งในระดับที่จะแต่งตั้ง • คุณสมบัติตรงตาม Spec • ดำเนินการตามหลักเกณฑ์วิธีการ สบค.กอ.รมน.
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ร้อยละ ๗๐ พฤติกรรม/ สมรรถนะ ร้อยละ ๓๐ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ หลักการ ผอ.รมน. (ลธ.รมน. ปฏิบัติราชการแทน) อนุมัติแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการประจำ กอ.รมน. ตาม หนังสือ สบค.กอ.รมน. ที่ นร ๕๑๐๑/๑๗๘๒ ลง ๑๗ สค.๕๔ เรื่อง ขออนุมัติแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการประจำ กอ.รมน. สาระสำคัญ ๑. องค์ประกอบในการประเมินผลฯ พิจารณาจากความสำเร็จของ งานราชการที่ตกลงร่วมกัน ระหว่างผู้บังคับบัญชาผู้ประเมิน และผู้ถูกประเมิน พิจารณาประเมินจากสมรรถนะหลัก ๕ ตัว สบค.กอ.รมน.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ๒. แบบฟอร์มที่ใช้ในการประเมินผลฯ ๓. แบบประเมินพฤติกรรม การปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ ๑. แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๒. แบบประเมินผล สัมฤทธิ์ของงาน สบค.กอ.รมน.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ๓. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ ยกเลิกโควตา ๑๕% งบประมาณ/ครึ่งปี : ๓%ของเงินเดือนทุกคนในส่วนราชการ เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของฐานในการคำนวณ (ค่ากลาง) ประเมิน ผลงานประจำปี ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน ๖% ของค่ากลาง • ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน ๖% ในรอบครึ่งปี / ผลงานระดับที่ • ลดหลั่นลงมาให้อิสระแต่ละส่วนราชการกำหนดเอง • กำหนดค่ากลาง ๒ ค่า ในแต่ละระดับ • ไม่บังคับสัดส่วนจำนวนคนแต่ละระดับ (Force Distribution) • ส่วนราชการบริหารงบประมาณเอง (๓%) • เลื่อนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของช่วงเงินเดือนแต่ละสายงาน • เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละของ • ค่ากลาง ปีละ ๒ ครั้ง / ไม่น้อยกว่า ๕ ระดับ : ประกาศระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนในแต่ละระดับ : ประกาศรายชื่อผู้มีผลงานระดับดีมาก/ดีเด่น : แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะตัวบุคคล สบค.กอ.รมน.
ถาม - ตอบ sri_wan@hotmail.com โทร 83364 สบค.กอ.รมน.