440 likes | 1.04k Views
MSWLogo. โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ e – Mail : tanayus@hotmail.com Site : www.kaperwit.com. การติดตั้ง MSWLogo. การติดตั้งจะต้องมีโปรแกรม Setup MSWLogo โดยสามารถ Download ได้ที่ http://www.softronix.com/download/mswlogo65.exe. โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา.
E N D
MSWLogo โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ e – Mail : tanayus@hotmail.com Site : www.kaperwit.com
การติดตั้ง MSWLogo การติดตั้งจะต้องมีโปรแกรม Setup MSWLogo โดยสามารถ Download ได้ที่ http://www.softronix.com/download/mswlogo65.exe โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
ส่วนประกอบของหน้าต่าง MSWLogo โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา ส่วนการแสดงผลลัพธ์ ตัวเต่า Logo ส่วนการแสดงผลคำสั่งที่ผ่านไปแล้ว ส่วนสั่งงาน ปุ่มควบคุมพิเศษ
Forward คือการสั่งให้เต่าเคลื่อนที่ไปข้างหน้า n หน่วย รูปแบบ forward n ตัวย่อ fd n ตัวอย่าง forward 100 หรือ fd 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Back คือการสั่งให้เต่าถอยหลัง n หน่วย รูปแบบ back n ตัวย่อ bk n ตัวอย่าง back 100 หรือ bk 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Right คือสั่งให้เตาหมุนขวา c องศา รูปแบบ right c ตัวย่อ rt c ตัวอย่าง right 90 หรือ rt 90 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Left คือสั่งให้เตาหมุนซ้าย c องศา รูปแบบ left c ตัวย่อ lt c ตัวอย่าง left 90 หรือ lt 90 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Hideturtle คือสั่งซ่อนเต่า รูปแบบ hideturtle ตัวย่อ ht ตัวอย่าง hideturtle หรือ ht โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Showturtle คือสั่งแสดงเต่า รูปแบบ showturtle ตัวย่อ st ตัวอย่าง showturtle หรือ st โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Clearscreen คือสั่งล้างหน้าจอนำเต่ากลับสู่ตำแหน่งเริ่มต้น รูปแบบ clearscreen ตัวย่อ cs ตัวอย่าง clearscreen หรือ cs โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Clean คือสั่งล้างหน้าจอเต่าอยู่ตำแหน่งเดิม รูปแบบ clear ตัวอย่าง clear โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Home คือสั่งให้เต้ากลับสู่ตำแหน่งเริ่มต้น รูปแบบ home ตัวอย่าง home โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Cleartext คือลบคำสั่งที่ใช้ไปในหน้าต่าง commander รูปแบบ cleartext ตัวย่อ ct ตัวอย่าง cleartext หรือ ct โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
PenUp คือสั่งให้เต่ายกปากกาขึ้น รูปแบบ penup ตัวย่อ pu ตัวอย่าง penup หรือ pu โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
PenDown คือสั่งให้เต่าวางปากกาลง รูปแบบ pendown ตัวย่อ pd ตัวอย่าง pendown หรือ pd โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
PenErase คือสั่งให้ปากกาเปลี่ยนเป็นยางลบ รูปแบบ penerase ตัวย่อ pe ตัวอย่าง penerase หรือ pe โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
PenPaint คือสั่งให้ยางลบเป็นปากกา รูปแบบ penpaint ตัวย่อ ppt ตัวอย่าง penpaint หรือ ppt โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
PenReverse คือสั่งให้เปลี่ยนปากกาเป็นยางลบเหมือนคำสั่ง penerase แต่ ใช้ได้ครั้งเดียวไม่ต้องใช้คำสั่ง penpaint รูปแบบ penreverse ตัวย่อ px ตัวอย่าง penreverse หรือ px โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
SetPenSize คือสั่งให้เปลี่ยนขนาดปากกาที่กำหนด รูปแบบ setpensize [h w] ตัวอย่าง setpensize [10 10] โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Show PenSize คือสั่งโปรแกรมให้แสดงขนาดปากกาที่ใช้อยู่ จะใช้คำสั่ง 2 คำสั่งร่วมกันคือ คำสั่ง show และคำสั่ง pensize Show คือ ให้แสดง ข้อความที่ commander Pensize คือ การเรียกขนาดปากกาที่ใช้อยู่ รูปแบบ show pensize ตัวอย่าง show pensize โดยอ.ธนายุสพิจยานนท์โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
SetScreenColor คือสั่งให้เปลี่ยนสีพื้นหลัง รูปแบบ setscreencolor [R G B] หรือ setscreencolor N ตัวย่อ setsc [R G B] หรือ setsc N ตัวอย่าง setsc [255 255 0] หรือ setsc 3 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
SetPenColor คือสั่งให้เปลี่ยนสีปากกา รูปแบบ setpencolor [R G B] หรือ setpencolor N ตัวย่อ setpc [R G B] หรือ setpc N ตัวอย่าง setpc [255 0 0] หรือ setpc 5 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
SetFloodColor คือสั่งให้เปลี่ยนสีที่ระบายด้วยคำสั่ง fill รูปแบบ setfloodcolor [R G B] หรือ setfloodcolor N ตัวย่อ setfc [R G B] หรือ setfc N ตัวอย่าง setfc [0 100 255] หรือ setfc 7 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Fill คือคำสั่งระบายสีลงในพื้นที่ ที่เต่าอยู่ ด้วยสีที่กำหนดในคำสั่ง setfc รูปแบบ fill ตัวอย่าง fill โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
SetPos คือคำสั่งที่ทำให้เต่าเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่กำหนด รูปแบบ setpos [x y] ตัวอย่าง setpos [-100 250] setpos [50 100] โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Setxy คือคำสั่งที่ทำให้เต่าเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่กำหนด รูปแบบ setxy x y ตัวอย่าง setxy -100 250 setxy 50 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Setx และ Sety คือคำสั่งที่ทำให้เต่าเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่ง x และ y ที่กำหนด รูปแบบ setx x sety y ตัวอย่าง setx 50 sety 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Show Pos, Xcor, Ycor คือสั่งโปรแกรมให้แสดงตำแหน่ง ที่เต่าอยู่ Show pos คือ แสดงตำแหน่งทั้ง แกน x และ แกน y Show xcor คือ แสดงตำแหน่ง แกน x Show ycor คือ แสดงตำแหน่งแกน y รูปแบบ show pos show xcor show ycor โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
SetHeading คือสั่งให้เต่าหมุนตามองศาที่กำหนด โดยไม่ยึดตำแหน่งองศาเดิม รูปแบบ setheading c ตัวย่อ seth c ตัวอย่าง seth 270 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Towards คือคำสั่งอ่านค่ามุมที่จะให้เต่าหมุนไปยังตำแหน่งที่กำหนด รูปแบบ towards [x y] ตัวอย่าง show towards [100 100] 45 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Distance คือคำสั่งอ่านค่าระยะทางที่จะให้เต่าเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่กำหนด รูปแบบ distance [x y] ตัวอย่าง seth towards [300 400] fd distance [300 400] โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Arc คือสั่งให้เต่าวาดรูปส่วนโค้ง โดยส่วนโค้งจะเริ่มทางด้านล่างของตัวเต่าและวาดไปทางด้านซ้ายห่างจากตัวเต่าเท่ารัศมีที่กำหนด ตัวเต่าอยู่กับที่ รูปแบบ arc c r ตัวอย่าง arc 180 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Arc2 คือสั่งให้เต่าวาดรูปส่วนโค้ง โดยจะใช้ตัวเต่าวาดส่วนโค้งตามองศาและรัศมีที่กำหนด รูปแบบ arc2 c r ตัวอย่าง arc2 180 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Circle คือสั่งให้เต่าวาดวงกลมโดยตัวเต่าอยู่ที่จุดศูนย์กลาง รูปแบบ circle r ตัวอย่าง circle 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Circle2 คือสั่งให้เต่าวาดวงกลมโดยตัวเต่าอยู่ที่เส้นขอบ รูปแบบ circle2 r ตัวอย่าง circle2 100 โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
Repeat คือคำสั่งในการทำชุดคำสั่งซ้ำ จำนวน m ครั้ง รูปแบบ repeat m[ชุดคำสั่ง] ตัวอย่าง repeat 4[fd 100 rt 90] โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
การใช้งานโปรแกรมย่อย รูปแบบโปรแกรมย่อย to ชื่อโปรแกรมย่อย กระบวนความ end ตัวอย่าง to star fd 100 rt 144 fd 100 rt 144 fd 100 rt 144 fd 100 rt 144 fd 100 end โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา
การใช้งานตัวแปล การประกาศตัวแปล :ชื่อตัวแปล ตัวอย่างเช่น to echo :times :thing repeat :times [print :thing] end echo 2 "Hello Hello Hello echo 3 "Bye Bye Bye Bye โดย อ.ธนายุส พิจยานนท์ โรงเรียนกะเปอร์วิทยา