1 / 54

การประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วันพฤหัสบดี 3 เมษายน 2557 เวลา 09. 00 น. ณ ห้องฝ้ายคำ

โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด /18 กลุ่มจังหวัด. การประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วันพฤหัสบดี 3 เมษายน 2557 เวลา 09. 00 น. ณ ห้องฝ้ายคำ ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ

Download Presentation

การประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วันพฤหัสบดี 3 เมษายน 2557 เวลา 09. 00 น. ณ ห้องฝ้ายคำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด การประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วันพฤหัสบดี3เมษายน 2557 เวลา09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำ ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์ บุรีรัมย์

  2. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด 2.2 การจัดทำรายงานสถานการณ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแผนพัฒนาจังหวัด/นโยบายจังหวัด 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติ และสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด 2.4 สรุป Product Champion ตามประเด็นยุทธศาสตร์และนโยบายจังหวัด ตามแนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา 3.1 ร่างผังสถิติทางการของการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม 3.2 ร่างแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด 3.3 แนวทางการดำเนินงานต่อไป ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  3. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  4. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.2 การจัดทำรายงานสถานการณ์ในประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด/นโยบายจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  5. “ข้าวหอมมะลิ” ที่มา :สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองบัวลำภู หมายเหตุ :ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศไทย ปี 2557 ไร่ละ 442 กิโลกรัม สรุปบุรีรัมย์ จะต้องทำอย่างไรเพื่อ เพิ่มผลผลิต ให้สูงขึ้น รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด กรณีข้าวหอมมะลิ

  6. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการ การพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  7. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด บูรณาการข้อมูลสารสนเทศระดับพื้นที่เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสถิติขององค์กรภาครัฐ ให้มีความเป็นมืออาชีพด้านข้อมูลสถิติและสารสนเทศ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ ร่างแผนพัฒนาสถิติจังหวัด เพื่อการตัดสินใจของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด ได้แก่ ข้อมูลในการบริหารจัดการ Product Champion ที่ได้รับการเลือก ปัจจัยสู่ความสำเร็จ และตัวชี้วัด (KPI) ฯลฯ ผลผลิตหลักของโครงการ

  8. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด กรอบแนวคิดการดำเนินงานเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัด / จังหวัด + + = การพัฒนาต่อยอดและขยายชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจจากประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ใน 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ชุดข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ 3 ด้าน 21 สาขา แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ได้จัดทำยุทธศาสตร์สำคัญ 6 ประเด็น ซึ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ที่กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดทำได้มีการทบทวนและนำแนวทางของแผนฯ 11 และวาระแห่งชาติต่างๆ ใช้ประกอบในการกำหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลหรือสถิติทางการที่สำคัญจำเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขา ครอบคลุมเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดทำแผนหรือการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได้

  9. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน 2 น่าน พะเยา เชียงราย น่าน ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ภาคอีสานตอนบน 1 อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ภาคอีสานตอนบน 2 สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ภาคเหนือตอนล่าง 2 กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคอีสานตอนกลาง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ในระยะที่ผ่านมา สำนักงานสถิติ แห่งชาติได้ดำเนินการพัฒนาระบบสถิติเชิงพื้นที่ รองรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญในการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11(ปี 2555 – 2559) สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ภาคอีสานตอนล่าง 2 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ ภาคกลางตอนล่าง 1 กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ภาคอีสานตอนล่าง 1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ภาคกลางตอนล่าง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ภาคกลางตอนล่าง 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 2555 2556 2557 ภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทยุรี ตราด ภาคกลางตอนบน 1 อยุธยา สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี นำร่อง 10 จังหวัด นำร่อง 2 กลุ่มจังหวัด พัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด / 18 กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

  10. “ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การกำกับราชการแบบบูรณาการ(Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือ ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Communication) การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) • การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาของจังหวัด เพื่อกำหนดเลือก Product Champion และCritical Issue • เครื่องมือในการกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects BCG

  11. “ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การสื่อสารความร่วมมือ ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Communication) การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) การกำกับราชการแบบบูรณาการ(Strategic Integrated Command) • การบริหารโครงการ แผนงานและงบประมาณที่มีความสัมพันธ์กัน (โดยใช้แนวคิด Value Chain) • การตรวจสอบ และติดตาม • การประเมินผลที่ใช้ CSF – KPI ใน Value Chain ประเมินผลทั้งระดับโครงการและแผนงาน (Output by PC / CI : Area) SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management based on VC Provincial Statistics & Database BCG Budgeting Monitoring Evaluating

  12. “ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) การกำกับราชการแบบบูรณาการ (Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือทางยุทธศาสตร์(Strategic Communication) • รายงานสถานการณ์ทางยุทธศาสตร์ (ประเด็นการพัฒนา หรือ Product Champion) • Business Intelligence / Dashboard / PMOC SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management Base On VC Provincial Statistics & Database Provincial Strategic Reports Business Intelligence Strategic Dashboard BCG Budgeting Monitoring Evaluating

  13. “ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์ที่จังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) การกำกับราชการแบบบูรณาการ (Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือทางยุทธศาสตร์(Strategic Communication) SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management Base On VC Provincial Statistics & Database Provincial Strategic Reports Business Intelligence Strategic Dashboard BCG Budgeting Monitoring Evaluating

  14. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.4 สรุป Product Champion ตามประเด็นยุทธศาสตร์ และนโยบายจังหวัดตามแนวทางการพัฒนาข้อมูลบน แนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  15. ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2558 - 2561 วิสัยทัศน์ : “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม เศรษฐกิจมั่นคง สังคมเป็นสุข” ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาเป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยว อารยธรรมขอม พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย พัฒนาไหมพื้นบ้าน สู่สากล พัฒนาคุณภาพชีวิต อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาการบริการภาครัฐและเอกชน เป้าประสงค์ สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเพิ่ม ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยว สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเพิ่ม ขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัย สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้น เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านผลิตภัณฑ์ไหม พัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน รักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างความพึงพอใจและตอบสนองต่อข้อร้องเรียนของประชาชน

  16. สรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพและตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด (2558-2561)ของจังหวัดบุรีรัมย์ ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์(2558-2561)

  17. บุรีรัมย์ จากประเด็นยุทธศาสตร์ สู่การกำหนด Product Champion และ Critical Issue

  18. บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวและการค้าชายแดน กลยุทธ์ 1.พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและโครงข่ายคมนาคม 2. พัฒนาตลาดท่องเที่ยวเชิงรุก เชื่อมโยงอารยธรรมขอม และสินค้า OTOP 3. พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว 4. พัฒนาการค้าชายแดน

  19. บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  20. วงแหวนการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมวงแหวนการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม นครราชสีมา 105 กม. 455 กม. กรุงเทพมหานคร

  21. จำนวนผู้เยี่ยมเยือน (นักท่องเที่ยวและนักทัศนาจร) ที่เดินทางมายังจังหวัดบุรีรัมย์ระหว่างปี 2552 - 2555 บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

  22. บุรีรัมย์ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม วางยุทธศาสตร์ / แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหารจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ • บริหารจัดการฐานข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่นและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้าน การท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม/เครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • ฟื้นฟู /ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ • การจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ป้ายบอกทาง • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • พัฒนาและเปิดจุดผ่านแดน • อนุรักษ์และนำเสนอกิจกรรมท่องเที่ยวอารยธรรมขอมที่เป็น อัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ • พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยง อารยธรรมขอมแบบ Cross Border เพื่อรองรับ AEC • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจที่พัก Guest- house/ Home stay และโรงแรมได้รับการรับรองมาตรฐาน • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมได้รับการรับรองมาตรฐาน • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • การทำการตลาดกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (StrategicPositioning) สำหรับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (CarryingCapacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

  23. บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ 1.ส่งเสริมการจัดทำ Zoning การผลิตสินค้าเกษตร 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร 3. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป การตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย 4. พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานภาคเกษตร กลุ่มอาชีพ และวิสาหกิจชุมชน

  24. บุรีรัมย์ จำนวนพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2554/55 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ผลการวิเคราะห์ BCG

  25. บุรีรัมย์ ผลผลิตข้าวนาปีต่อพื้นที่เพาะปลูก (กิโลกรัม) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  26. บุรีรัมย์ ข้าวหอมมะลิปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน • การส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย • สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง • เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) • เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ • ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยทั้งกระบวนการ • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัย • โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวหอมมะลิปลอดภัย • ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหอมมะลิปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว • ผลผลิตข้าวสารหอมมะลิปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP • เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวหอมมะลิปลอดภัย • การแปรรูปสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น(Value Creation) • ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด • การใช้ระบบการขนส่งข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าจนถึงตลาด • มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน • มีระบบตลาดซื้อขายข้าวหอมมะลิปลอดภัยล่วงหน้า • มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว • การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางการตลาด • มีตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิปลอดภัยเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด • วิจัยความต้องการข้าว หอมมะลิปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ • มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค • พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว • การพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิทั้งกระบวนการ

  27. บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล กลยุทธ์ 1.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิตไหมปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไหมปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล 4. จัดระบบการบริหารจัดการพัฒนาหม่อนไหมเชิงพาณิชย์

  28. จำนวนพื้นที่เพาะปลูกหม่อนไหมจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกตามอำเภอ ปี 2556 บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล ประมาณการการจัดเก็บรายได้จากการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดบุรีรัมย์ ปีงบประมาณ 2556 ที่มา : ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์

  29. บุรีรัมย์ พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล การวิจัยและพัฒนา(R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ พัฒนาระบบการตลาด การสนับสนุน ปัจจัยแวดล้อม ที่เอื้อต่อการผลิต การเพิ่มขีดความสามารถ ผปก. และฝีมือแรงงาน การขนส่งสินค้า และจัดการบริหาร สินค้า (Logistics • พัฒนาฐานข้อมูลการผลิตและการบริโภค • พัฒนาฐานข้อมูลตลาดและปริมาณการส่งออก • เงินลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน • การพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกหม่อน แหล่งน้ำและระบบชลประทาน • การบริหารจัดการแหล่งวัตถุดิบ • การพัฒนาและควบคุมมาตรฐานกระบวนการผลิต • สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญการเป็นพี่เลี้ยงถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีการผลิตให้กับเกษตรกร • การลดอัตราการสูญเสียในระบบผลิต • การใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญาสร้างมูลค่า • การผลิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม (Green Production) • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีรูปแบบที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการผู้บริโภค • การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ • การสร้างตราสินค้าและตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) • การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า • การพัฒนาประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า • การประชาสัมพันธ์สินค้าผลิตภัณฑ์ไหมเพื่อขยายช่องทางการตลาดทั้งตลาดภายใน และต่างประเทศ • การทำการตลาดผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ • การวิจัยและพัฒนา (R&D) เทคโนโลยีในการผลิตสินค้า • การออกแบบผลิตภัณฑ์ (เชื่อมโยงนักออบแบบอุตสาหกรรมเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม) • การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร/ลิขสิทธิ์) • การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการ • การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจของวิสาหกิจ • การพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ • สร้างมาตรฐานการรับรองฝีมือแรงงาน (Skill Certification) • การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงอุตสาหกรรม • สร้างและขยายเครือข่ายการผลิต

  30. บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิต กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. รณรงค์ส่งเสริมแรงงานนอกระบบเข้าสู่ประกันสังคม 3. ส่งเสริมการออมและพัฒนาเครือข่ายชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง 4. พัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีความอบอุ่น และห่างไกลยาเสพติด 5. เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

  31. บุรีรัมย์ หลักเกณฑ์การจัดตั้งเทศบาลนคร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิต

  32. บุรีรัมย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน โดยการยกฐานะจากเทศบาลเมืองบุรีรัมย์เป็นเทศบาลนครบุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกระดับวัย การเฝ้าระวัง/แก้ปัญหา/การจัดการโรคระบาด/ติดต่อ การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ มีระบบสาธารณูปโภค สร้างความลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ส่งเสริมพัฒนา อาชีพ/การมีงานทำ/รายได้ ยกระดับคุณภาพการศึกษา • ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา • บริหารจัดการฐานข้อมูลด้านการการศึกษาของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ • พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับในพื้นที่ • สร้างโอกาส/แนวทางในการเข้าสู่การศึกษาในระดับสูง/ช่องทางอาชีพสำหรับเยาวชนที่จะจบการศึกษา • การส่งเสริม ความรู้ทักษะการเลี้ยงดูและสุขอนามัยทารก • การส่งเสริมความรู้ ทักษะกิจกรรมและสุขภาวะที่ดีสำหรับเด็กและเยาวชน • การป้องกันมิให้ประชาชนป่วยเป็นโรคพื้นฐานทั่วไป • การดูแลสุขภาวะและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ • ดูแลผู้ป่วยให้สามารถเข้าถึงซึ่งบริการสุขภาพได้สะดวก รวดเร็ว • เฝ้าระวังโรคติดต่อในพื้นที่ • การป้องกันโรคติดต่อ • การรับมือ ดูแลรักษา เมื่อมีโรคติดต่อระบาด • การบริหารจัดการเมื่อมีโรคโรคติดต่อระบาด • พัฒนาคุณภาพฝีมือแรงงานในสาขาที่จำเป็น • ให้ความรู้ ทักษะให้ชุมชนมีอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ • สร้างอาชีพที่เหมาะสมกับชุมชน • จัดกิจกรรมส่งเสริมการออมในชุมชนและเสริมรายได้แรงงาน • ลดปัญหาการว่างงานในพื้นที่ • พัฒนาอาชีพให้ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสในจังหวัด • การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ เพื่อให้ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ • การขยาย/ปรับปรุงระบบน้ำประปา • การขยาย/ปรับปรุงระบบไฟฟ้า • การขยาย/ปรับปรุงระบบอินเตอร์เน็ต • ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน • ลดปัญหาอาชญากรรม • ป้องกัน/ป้องปราบ/ปราบปราบยาเสพติด • การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและบทบาทในการดูแลรักษาความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สินในชุมชนร่วมกัน • การป้องกัน รับมือ บริหารจัดการด้านภัยพิบัติหรือกรณีฉุกเฉินต่างๆในชุมชน เช่น น้ำท่วม ไฟไหม้ ฯลฯ

  33. บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนาการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 5. การบริหารจัดการขยะ (โดยการคัดแยกและลดปริมาณขยะในระดับชุมชน/พลังงาน)

  34. บุรีรัมย์ ศักยภาพและความต้องการใช้ทรัพยากรน้ำในจังหวัดบุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  35. บุรีรัมย์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในเขตเทศบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ อนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ป้องกันและแก้ปัญหาน้ำเสีย พัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม และชุมชน จัดระบบบริหารจัดการน้ำ แบบมีส่วนร่วมอย่างบูรณาการ • การจัดการน้ำเสียชุมชน • การจัดการน้ำเสียเกษตร • การจัดการน้ำเสียอุตสาหกรรม • เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนรวมถึงให้ความรู้และความเข้าใจในการจัดการน้ำเสียชุมชน เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม • การบังคับใช้กฎหมายในการปล่อยของเสียและน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด • พัฒนา ปรับปรุงแหล่งเก็บกักน้ำ ระบบระบายน้ำ และผันน้ำ • ปรับปรุงและพัฒนาระบบกระจายน้ำให้กับพื้นที่ที่ยังขาดแคลน • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำเพื่ออุปโภค และบริโภค /เกษตร / อุตสาหกรรม • การพัฒนาเครื่องมือ ตรวจวัดและเตือนภัยคุณภาพน้ำ • การจัดการทรัพยากรน้ำระดับลุ่มน้ำแบบบูรณาการ กับพื้นที่ใกล้เคียง • การป้องกันและจัดการพื้นที่ที่ถูกน้ำกัดเซาะ • สร้างความมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำร่วมกัน

  36. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  37. แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด Value Chain (VC) ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.3 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/ 18 กลุ่มจังหวัด [วิสัยทัศน์] ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ VC1 VC2 VC3 VC4 เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ 1 เป้าประสงค์ 2 เป้าประสงค์ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (CSF: Critical Success Factors) ประเด็นยุทธฯ 1 ประเด็นยุทธฯ 2 ประเด็นยุทธฯ 3 CSF 1.1 CSF 1.2 … CSF 2.1 CSF 2.2 … CSF 3.1 CSF 3.2 … CSF 4.1 CSF 4.2 … แนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า 01 02 แผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ จาก Critical Success Factors สู่การกำหนดตัวชี้วัด (KPI) และชุดข้อมูลสำหรับทุกข้อต่อใน Value Chain [ Data Gap Analysis ]

  38. บุรีรัมย์ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม วางยุทธศาสตร์ / แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหารจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ • บริหารจัดการฐานข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่นและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้าน การท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม/เครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • ฟื้นฟู /ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ • การจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ป้ายบอกทาง • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • พัฒนาและเปิดจุดผ่านแดน • อนุรักษ์และนำเสนอกิจกรรมท่องเที่ยวอารยธรรมขอมที่เป็น อัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ • พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยง อารยธรรมขอมแบบ Cross Border เพื่อรองรับ AEC • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจที่พัก Guest- house/ Home stay และโรงแรมได้รับการรับรองมาตรฐาน • ส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมได้รับการรับรองมาตรฐาน • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของบุรีรัมย์ • การทำการตลาดกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (StrategicPositioning) สำหรับการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (CarryingCapacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

  39. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  40. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  41. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  42. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  43. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  44. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1 ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม

  45. รายชื่อหน่วยงานหลัก 10 หน่วยงานที่บูรณาการฐานข้อมูล “การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม” สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด บุรีรัมย์ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด สำนักงานชลประธาน สำนักงานป่าไม้จังหวัด สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดบุรีรัมย์ 12% ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม 44% 44% รายการสถิติที่มีการจัดเก็บเป็นปกติ รายการสถิติที่ยังไม่ได้จัดเก็บ รายการสถิติที่ต้องพัฒนาการจัดเก็บ สรุปช่องว่างการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้มีข้อมูลสนับสนุนการบริหารยุทธศาสตร์

  46. บทสรุป Data Gap และข้อเสนอแนะแนวทางการจัดเก็บข้อมูล

  47. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1ร่างผังสถิติทางการของ การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม (1) พิจารณาเห็นชอบในหลักการ แนวทางการพัฒนาข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) และ ร่างผังสถิติทางการของการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมตามที่เสนอ (2) ขอความเห็นชอบในหลักการให้สำนักงานสถิติจังหวัดจัดทำข้อมูลและร่างผังสถิติทางการของ Product Champion / Critical Issue ของแผนพัฒนาจังหวัด บนแนวทางการพัฒนาข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) ประเด็นพิจารณา

  48. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.2ร่างแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัดภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันที่3 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องฝ้ายคำศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์

  49. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.2 ร่างแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด

More Related