1 / 83

Individual Scorecard

Individual Scorecard. รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่. Strategy Formulation การวางแผนยุทธศาสตร์. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551). แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี. S W O T. Vision. Strategic Issue. Goal (KPI / target). Strategies. Strategic Control การกำกับและติดตามผล.

drew
Download Presentation

Individual Scorecard

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Individual Scorecard

  2. รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่ Strategy Formulation การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control การกำกับและติดตามผล Strategy Implementation การปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management การประเมินและบริหารความเสี่ยง บุคคล/วัฒนธรรม กระบวนงาน ระบบสารสนเทศ การปรับเชื่อมโยง กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  3. เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน • เพื่อเป็นการถ่ายทอดยุทธศาสตร์มาเป็นแผนการปฏิบัติงานราชการประจำปี คือ โครงการที่แสดงรายละเอียดผลผลิต ผลลัพธ์ ทรัพยากรที่จะใช้ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนการใช้เงิน การบริหารเงินสดผ่านระบบ GFMIS • ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์ gaps ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนงาน เทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถ กระบวนทัศน์ ค่านิยมของบุคลากร • เพื่อเป็นการทบทวน ติดตาม ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยให้หน่วยงานจัดทำ SAR และให้มีการเข้าไปตรวจสอบ ทานผล รวมทั้งให้ผู้ประเมินอิสระเป็นผู้ประเมินผลด้วย • ให้มีการให้รางวัลตอบแทนผลการปฏิบัติงานที่บรรลุตามเป้าหมาย ปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์การ ออกแบบองค์การ และกระบวนงาน บริหารทุนด้าน ทรัพยากรบุคคล ประเมินผล การปฏิบัติงาน ตลาดและ ลูกค้าสัมพันธ์ บริหาร จัดการข้อมูล บริหารจัดการ ด้านการเงิน จัดการ ยุทธศาสตร์ สร้างเครือข่าย HPO การควบคุม กำกับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Control) การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) การนำยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) Strategy Map วิธีการ • Networking Individual SC ศูนย์บริการร่วม Value Chain GSMS/GFMIS Benchmarking การจัดทำบัญชีต้นทุน PMQA ประเมินความคุ้มค่า Structure Design SWOTAnalysis Capacity Building Risk Management Blueprint for Change Change Management Process Improvement Knowledge Management Technology Development สำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ eAuction/eProcurement • Participation Balanced Scorecard

  4. 1. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  5. 1. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล การวางแผน การวัดผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/ กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด Sub-unit Scorecard/ สำนัก/กอง • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Team & Individual Scorecard ทีมงานและบุคคล การงบประมาณ

  6. การจัดทำ STRATEGY MAP (แผนผังเชิงยุทธศาสตร์) • องค์กรมีการกำหนดยุทธศาสตร์ แต่ขาดการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติให้สามารถบรรลุผล เนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ เช่น ขาดการสื่อสารด้านยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ยังรู้เฉพาะในคนบางกลุ่ม การเข้าใจยุทธศาสตร์แตกต่างกัน บุคลากรไม่รู้บทบาทความรับผิดชอบต่อยุทธศาสตร์ • องค์กรควรมีการตรวจสอบว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่โดยการกำหนดเป็น Strategy Map ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้มาจากแนวคิด Balanced Scorecard • Strategy Map จะเป็นการบอกความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล โดยการตอบ 4 คำถาม สำคัญ คือ • - Where are we now? (SWOT) - Where do we want to be? (Vision) - How do we get there? (Strategy Formulation) - What do we have to do or change in order to get there? (Strategy Implementation)

  7. การจัดทำ STRATEGY MAP (แผนผังเชิงยุทธศาสตร์) สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและถ่ายทอดกลยุทธ์ขององค์กรไปสู่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น ทำให้ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าองค์กรต้องการจะบรรลุความสำเร็จอะไร และมีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญๆ ที่ต้องทำอะไร จะมีการประเมินผลในสิ่งที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กรอย่างไร มีเป้าหมายการดำเนินงานเพียงใด ทำให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทราบบทบาทและ มีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ และเพื่อให้การประเมินผลมีความต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม องค์กรควรมีการติดตามและประเมินผลงานตนเอง (Self-Assessment) อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง

  8. แนวคิดเรื่อง Balanced Scorecard • เป็นเครื่องมือในการสร้างความสมดุลระหว่างด้านต่างๆคือ - ด้านการเงิน (Finance Perspective) - ด้านลูกค้า (Customer Perspective) - ด้านกระบวนการจัดการภายใน (Internal Business Process) - ด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth) • มีความสมดุลระหว่างมุมมองระยะยาวและระยะสั้น • มีความสมดุลระหว่างมุมมองภายในและภายนอกองค์กร • มีความสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่เป็นเหตุ (Leading Indicators or Performance Drivers) และ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่เป็นผล (Lagging Indicators or Outcomes) • ตัวชี้วัดแต่ละตัวมีความเชื่อมโยงในเชิงเหตุและผล • แปลงวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติ • ใช้ในการติดตามผลการดำเนินงาน

  9. แนวคิดเรื่อง Balanced Scorecard • BSC เป็นเครื่องมือในการใช้อธิบาย ประยุกต์ และบริหารกลยุทธ์ ทั่วทั้งองค์กร โดยการเชื่อมโยงวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และแผนงานที่สำคัญเข้ากับกลยุทธ์ขององค์กร • BSC เป็นมากกว่าตัวชี้วัด BSC ที่ดีจะต้องสามารถบอกเล่าเรื่องราวของกลยุทธ์ขององค์กร • BSC เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์กรไปสู่การปฏิบัติ

  10. แนวคิดเรื่อง Balanced Scorecard ข้อดีของการนำ Balanced Scorecard มาใช้คือ - ทำให้ผู้บริหารได้มีโอกาสทบทวนทิศทาง กลยุทธ์ขององค์กร ทำให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน - ช่วยให้มีการสื่อสาร ถ่ายทอดกลยุทธ์ลงไปสู่ระดับต่าง ๆซึ่งหลักการ Balanced Scorecard จะคล้ายกับหลักการด้านการจัดการซึ่งเคยนิยมกันมา คือ หลัก MBO (Management By Objective) โดยจะเริ่มจากระดับบนลงมาระดับล่าง คือ เริ่มจาก Corporate Scorecard ก่อนแล้วจึงเป็น Division Scorecard โดย Scorecard ขององค์กรจะถูกสร้างอิงกับกลยุทธ์ เพราะฉะนั้น Scorecard ของระดับล่างก็จะอิงกับกลยุทธ์ด้วยทำให้ทุกคนได้เห็นภาพชัดเจนว่ากลยุทธ์ และทิศทางคืออะไร - ทำให้มีความสอดคล้องและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทุกคนไปในทิศทางเดียวกัน - ทำให้เกิดความสามารถในการเตือนภัยและคาดการณ์ได้ล่วงหน้า - ทำให้ผู้บริหารมีมุมมองที่กว้างขึ้นและมองหลายด้านมากขึ้นแทนที่จะมองเพียงด้านใดด้านหนึ่ง

  11. Total Quality Management (TQM) &Balanced Scorecard (BSC) Leadership Information & Analysis Capacity-building (Learning & Growth Perspective) Effectiveness (Financial Perspective) Strategy Deployment HR Focus Business Results Efficiency (Internal Work Process Perspective) Process Management Customer & Market Focus Quality (Customer Perspective) Enablers Achievement

  12. การวางแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ4ปี และการทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การเตรียมการ(Project Setup) การจัดทำวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์(Vision, Goals and Strategic Issues) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy) การกำหนดแผนปฏิบัติการ(Action Plan) การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การวิเคราะห์สถานการณ์และศักยภาพของส่วนราชการ

  13. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปีงบประมาณ 2549 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการตามทีได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดรอบระยะเวลา การให้บริการ การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงขององค์กรและการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ

  14. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ(จังหวัด) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลา การให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

  15. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด)

  16. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด) ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1

  17. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด) มีการกำหนดแนวทางการดำเนินการ/แผนงานการประเมินผลภายในจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ระดับคะแนน 1

  18. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด) • มีการยืนยันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัดกับแต่ละส่วนราชการประจำจังหวัด • จัดทำ Strategy Map โดยกำหนดเป้าประสงค์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการประจำจังหวัดให้เชื่อมโยงกับเป้าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด • กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมาย และจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการในระดับหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดกับผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัดจะต้องรวมถึงส่วนภูมิภาคด้วยเป็นอย่างน้อย ระดับคะแนน 2

  19. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด) มีระบบในการติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและเป้าหมายตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดและมีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ ระดับคะแนน 3

  20. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด) มีการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและเป้าหมาย ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ในระดับหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด ระดับคะแนน 4

  21. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (จังหวัด) มีการนำผลการประเมินผลการดำเนินงานในระดับหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดไปเชื่อมโยงกับระบบการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) (มีหลักเกณฑ์ และต้องประกาศหลักเกณฑ์ให้ทราบ) ระดับคะแนน 5

  22. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานหรือบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานหรือบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของส่วนราชการ ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ ระดับกรม ระดับกรม ระดับสำนัก / กอง ระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล

  23. การแปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (Cascading KPIs) แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานหรือบุคคล • เริ่มจากการสร้างตัวชี้วัดระดับองค์กร จากนั้นแปลงตัวชี้วัดระดับองค์กรลงสู่ตัวชี้วัดของผู้บริหารระดับรองๆ ลงไปเรื่อยๆ จนถึงตัวชี้วัดในระดับที่ต้องการ • ผู้บริหารระดับสูงดึงตัวชี้วัดของระดับองค์กรที่ตนเองต้องรับผิดชอบเข้ามาเป็นตัวชี้วัดของตนเอง และพัฒนาตัวชี้วัดอื่นๆ ขึ้นมาเพิ่ม • สามารถจัดทำในลักษณะของ Personal Scorecard ที่ประกอบด้วยมุมมองทั้ง 4 ด้าน หรือ ในลักษณะของ Personal KPI การวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และผลงานหลัก • เริ่มจากการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหรือบุคคล โดยสามารถดูได้จาก • Job description • Mission • Role and responsibility • จากนั้นจึงกำหนดผลงานหลักของหน่วยงานหรือบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร • จัดทำตัวชี้วัดเพื่อวัดผลงานหลักของหน่วยงานหรือบุคคลนั้นๆ Customer Focus method • เหมาะสมสำหรับหน่วยงานที่จัดทำตัวชี้วัดได้ยาก • เหมาะกับหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานสนับสนุนต่างๆ • เริ่มต้นจากการตอบคำถามเหล่านี้ • ใครคือลูกค้าหลักของหน่วยงาน โดยอาจจะเป็นทั้งลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอกองค์กร • อะไรคือสินค้าที่ลูกค้านั้นๆ ต้องการจากหน่วยงานหรือบุคคล

  24. ขอบเขตการดำเนินงาน กระบวนการในการวางระบบฯ ในระดับสำนัก / กอง และระดับบุคคล ร่วมจัดทำระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานในระดับบุคคล ร่วมจัดทำระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานใน ระดับสำนัก/กอง ยืนยันระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักใน ระดับสำนักงานฯ จัดทำความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดผลการดำเนินงานในทุกระดับ ให้คำปรึกษาและร่วมจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด ให้คำปรึกษาและร่วมจัดทำแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน จัดทำแบบฟอร์มและแนวทางในการจัดทำรายละเอียดหน้าที่งาน จัดทำรูปแบบรายงานผลและการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด ถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจหลักการและแนวคิด

  25. กระบวนการในการวางระบบฯ ในระดับสำนัก / กอง และระดับบุคคล ขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคล ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกรม สู่ระดับ สำนัก /กลุ่มงาน ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนักพร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด

  26. ร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลงร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยงาน ผลลัพธ์: หน่วยราชการสามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาลงได้ โดยเฉลี่ยร้อยละ30 ขึ้นไป สถาบัน GG กำหนดมาตรการ หลักเกณฑ์ และแนวทางในการลดขั้นตอน ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยรับผิดชอบในด้านหลักเกณฑ์และแนวทาง ติดตามและประเมินผลสำเร็จในการลดขั้นตอนของหน่วยงาน ผลลัพธ์ : ประชาชนได้ใช้บริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้าง ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน (รายกรมและกระทรวง) โดยรับผิดชอบในด้านรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้องาน (function expert) OS Matrix Role Result Matrix Result Chart จัดหาและกำกับดูแลการติดตั้งInfrastructure และ Application จัดทำระบบให้บริการผ่านระบบ call center และ web-site ให้ข้อมูลในส่วนที่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงาน ภูมิภาค ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยการสนับสนุน Area Officer (รายจังหวัด) ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการลดขั้นตอนในภาพรวมจากหน่วยงาน โดยประเมินจากประชาชนและผู้รับบริการหลังจากที่ได้นำแนวทางในการลดขั้นตอนไปปฏิบัติ เผยแพร่ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้กับหน่วยราชการและประชาชน รับทราบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลดขั้นตอน สลธ. ทุกหน่วยงาน เผยแพร่ กฎหมาย ให้คำปรึกษาและประสานการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่เป็นอุปสรรคตามข้อเสนอของส่วนราชการ (เฉพาะในบางหน่วยงานเท่านั้น) วิจัยและพัฒนา สลธ. สนับสนุนการเบิกจ่ายงบประมาณ กพร.น้อย ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกรม สู่ระดับ สำนัก / กลุ่มงาน

  27. ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด สิ่งที่จะวัด (What to Measure) ตัวชี้วัด (How to Measure) ระดับองค์กร ผลลัพธ์ที่ต้องการ: ประชาชนรับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ตัวชี้วัด: ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ระดับหน่วยงาน การเผยแพร่สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชน ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ

  28. ขั้นที่ 4:การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Families ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Description

  29. ตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา Job Description งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดระดับบุคคล Personal KPI ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด

  30. ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ตัวอย่างรายละเอียดตัวชี้วัด (Measurement Template) • การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน • บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว

  31. ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ตัวอย่างตารางการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด • การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน • บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว

  32. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จในการนำระบบประเมินผลมาใช้ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จในการนำระบบประเมินผลมาใช้ • ผู้นำสูงสุด • ความต่อเนื่อง • การเปลี่ยนแปลง • อย่าใช้เป็นเครื่องมือในการจับผิดและลงโทษ • การสื่อสารภายในองค์กร • การผูกกับเงินรางวัล • ถ้าคิดจะทำ ทำเลย • ให้เริ่มทีละส่วน • ไม่สามารถลอกเลียนแบบได้ • กำหนดคณะทำงานหรือบุคคลที่เป็นผู้ประสานงานและรับผิดชอบหลักเกี่ยวกับระบบ ประเมินผลทั้งหมด โดยหน้าที่ของผู้รับผิดชอบประกอบไปด้วย • ทำหน้าที่เปรียบเสมือนที่ปรึกษาภายใน เมื่อหน่วยงานต่างๆ มีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับตัวชี้วัด • เป็นผู้ประสานงานและรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ เพื่อจัดทำรายงาน • เป็นผู้ดำเนินการหลักสำหรับการประชุมเพื่อทบทวนผลการดำเนินงานและตัวชี้วัด • เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการพัฒนาและปรับปรุงระบบตัวชี้วัดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

  33. ทำอย่างไร จึงทำให้เกิดความมุ่งมั่นต่อการบรรลุเป้าหมาย (Goal Commitment) • Supervisory Authorityได้รับการอธิบายและสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา • Peer and Group Pressureโดยความพยายามของทุกคนในกลุ่มไปในทิศทางเดียวกัน • Public Display • Expectation of Successมีความคาดหวังหรือโอกาสสูงที่จะประสบความสำเร็จ • Participationมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้า การสื่อสารและทำความเข้าใจที่ตรงกัน Pre-BSC Development วัตถุประสงค์– เพื่อให้บุคลากรในทุกระดับเข้าใจสาเหตุ แนวทาง ผลกระทบ ประโยชน์ ฯลฯ และป้องกันความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน แนวทาง– สัมมนา / E-Learning / วารสารภายใน / บันทึกจากผู้บริหาร • Pre-BSC Implementation • วัตถุประสงค์ เพื่อให้บุคลากรได้ • รับทราบและเข้าใจถึงกลยุทธ์ • ทราบว่าสิ่งที่ตนเองทำนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลยุทธ์องค์กรอย่างไร • ทราบว่าจะต้องทำอย่างไรเพื่อให้กลยุทธ์เกิดขึ้น • แนวทาง– สัมมนา / E-Learning / วารสารภายใน / ระบบอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ Post-BSC Implementation วัตถุประสงค์ เพื่อให้บุคลากรได้รับทราบถึงการดำเนินงานตามกลยุทธ์ และแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง แนวทาง–วารสารภายใน / ระบบอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ / ประชุม / ติดบอร์ด

  34. การสื่อสารอย่างต่อเนื่องในทุกขั้นตอน (ระดับปฏิบัติการ) ทำอย่างไร จึงทำให้เกิดความมุ่งมั่นต่อการบรรลุเป้าหมาย (Goal Commitment) • ประชุมสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้ปฏิบัติ -วิสัยทัศน์ หรือทิศทาง และเป้าประสงค์ร่วมกันของหน่วยงาน - ทุกคนในหน่วยงานมีส่วนสำคัญต่อการบรรลุเป้าหมาย • รายงานผลการดำเนินโครงการ/ แผนงาน/กิจกรรม - เอกสาร - Visual Control Board • การแก้ไขปัญหา และการป้องกัน ขณะดำเนินโครงการ/ แผนงาน/กิจกรรม - ปัญหาอุปสรรค เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ แต่ต้องพูดคุยกัน - ซักถาม พร้อมให้คำปรึกษา หาแนวทางใหม่ การมีเจ้าภาพในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล • แผน • กพร.ประจำหน่วยงาน • ผู้บริหาร • ผู้รับผิดชอบตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดตัวชี้วัด(Measurement Template )

  35. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลจากระดับกลุ่มจังหวัดจนถึงระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลจากระดับกลุ่มจังหวัดจนถึงระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 2 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับจังหวัด บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์จังหวัด 2.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของจังหวัด 2.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่จังหวัดมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.3 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพิ่มเติมตามวิสัยทัศน์ของจังหวัด 2.4 กำหนดเป้าประสงค์ที่จังหวัดต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 2.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล แนวทางการพัฒนาระบบประเมินผล กระบวนการพัฒนาระบบประเมินผล ขั้นตอนที่ 1: การพัฒนาระบบประเมินผลระดับกลุ่มจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์ 1.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด 1.2 ยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด 1.3 กำหนดเป้าประสงค์ที่กลุ่มจังหวัดต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 1.4 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด วิสัยทัศน์หน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ส่วนราชการต้นสังกัด ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับหน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ระดับหน่วยงาน 3.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน 3.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด 3.3 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต้นสังกัด ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.6 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ 3.5 กำหนดเป้าประสงค์ที่หน่วยงานต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 3.4 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพิ่มเติมตามวิสัยทัศนของหน่วยงาน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 4 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับบุคคล 3.1 ยืนยันหน้าที่งานของบุคคล 3.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชา ระดับบุคคล 3.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.4 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์

  36. การพัฒนาและวางระบบประเมินผลของส่วนราชการระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัด หน่วยงาน จนถึงระดับบุคคล (โครงการนำร่องที่จังหวัดปทุมธานี ระยะที่ 1)

  37. การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลการพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล ระดับกรม ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ระดับสำนัก / กอง ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล ระดับบุคคล

  38. ................................................................................................................................ ................................................................ ............. วิสัยทัศน์ พันธกิจ Agenda / Focusing Areas ประเด็นทางยุทธศาสตร์ Corporate Scorecard แผนการดำเนินงาน การติดตามและประเมินผล แผนที่ทางกลยุทธ์ Measurement ตัวชี้วัด เป้าหมาย Targets โครงการ Initiatives Budget เป้าประสงค์ งบประมาณ มิติด้านประสิทธิผล ตามพันธกิจ มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ มิติด้าน การพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัด: สำนัก / กอง ตัวชี้วัด: ทีม / บุคคล

  39. ขอบเขตการดำเนินงาน กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง ระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัดปทุมธานี ระดับจังหวัด หน่วยงานในส่วนราชการส่วนภูมิภาคของจังหวัดปทุมธานีที่จัดทำนำร่อง สาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี ระดับหน่วยงาน ข้าราชการประจำ ภายใต้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี จำนวน 12 สายงาน ระดับบุคคล

  40. ระดับกรม ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ระดับสำนัก / กอง ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล ระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1

  41. แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน “เป็นแหล่งสร้างสรรค์และนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวัฒนธรรม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ควบคู่กับการเป็นศูนย์เชื่อมโยงการคมนาคม เพื่อกระจายสินค้าและบริการสู่ทุกภูมิภาค” วิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัด 1.พัฒนาความรู้และการจัดการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 4.ศูนย์กลางเชื่อมโยงรับ และกระจายสินค้า ระหว่างภาคต่างๆ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 2.การผสมผสานทักษะกับความรู้ในการพัฒนาสินค้าเชิงวัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเที่ยวมรดกโลก 3.สร้างแรงจูงใจและดึงดูดผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศมาอยู่ในพื้นที่ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา

  42. Strategy Map กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน (นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง) วิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัด “เป็นแหล่งสร้างสรรค์และนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวัฒนธรรม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ควบคู่กับการเป็นศูนย์เชื่อมโยงการคมนาคม เพื่อกระจายสินค้าและบริการสู่ทุกภูมิภาค” ประเด็นยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์การค้า/การลงทุน ประเด็นยุทธศาสตร์การผลิต ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว ศูนย์กลางเชื่อมโยงรับและกระจายสินค้าระหว่างภาคต่างๆ สร้างแรงจูงใจและดึงดูดผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศมาอยู่ในพื้นที่ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา พัฒนาความรู้และการจัดการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม การผสมผสานทักษะกับความรู้ในการพัฒนาสินค้าเชิงวัฒนธรรม และส่งเสริมการท่องเที่ยวมรดกโลก 1. มีรายได้เพิ่มขึ้น ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 5. มีผลงานวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น 3. จำนวนนัก ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 4. ค่าใช้จ่ายจากการ ท่องเที่ยวต่อหัวเพิ่มขึ้น 6. ศูนย์กลางทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย 7. เพิ่มจำนวนผู้ที่มาลงทุนทางด้านการรับและกระจายสินค้า 2. สินค้ามีมูลค่าเพิ่ม 11. นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจ 10. การให้ข้อมูลข่าวสาร 8. การถ่ายทอดความรู้ที่ตรงกลุ่มเป้าหมาย 9. การให้บริการในด้านเครื่องมือด้านอุตสาหกรรมสำหรับผู้ประกอบการ 15. อำนวยความสะดวกในการขนถ่ายสินค้า 16. ลดต้นทุนค่าขนส่ง คุณภาพ การให้บริการ 12. มีแหล่งท่องเที่ยว/เส้นทางท่องเที่ยวใหม่ 13. สินค้าจากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานมากขึ้น 14. ผู้เชี่ยวชาญมาอยู่เพิ่มขึ้น 17. การพัฒนาความรู้ 18.การส่งเสริมความร่วมมือในด้านการเกษตร ระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/สถาบันเกษตรกร 19. สร้างกลไก ในการแลก เปลี่ยนความรู้ 26. จัดทำ DC ที่มีต้นทุนต่ำและอำนวยความสะดวก 21.มีโครง สร้างพื้นฐาน ที่ดี 22. บ้าน เมือง น่าอยู่ 23. มีความปลอดภัย 24. มีมาตร การ จูงใจ 25. จัดทำผังชี้นำการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด 20. การประชาสัมพันธ์ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ พัฒนา องค์กร 27. การพัฒนาระบบบริหารความรู้ 28. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

  43. ระบบประเมินผลของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนระบบประเมินผลของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1.พัฒนาความรู้และการจัดการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 2.การผสมผสานทักษะกับความรู้ในการพัฒนาสินค้าเชิงวัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเที่ยวมรดกโลก 3.สร้างแรงจูงใจและดึงดูดผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศมาอยู่ในพื้นที่ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา 4.ศูนย์กลางเชื่อมโยงรับและกระจายสินค้า ระหว่างภาคต่างๆ มิติด้านพัฒนาองค์กร

  44. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1: พัฒนาความรู้และการจัดการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1(กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน) จำนวน 8 เป้าประสงค์ จำนวน 11 ตัวชี้วัด

  45. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: การผสมผสานทักษะกับความรู้ในการพัฒนาสินค้าเชิงวัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเที่ยวมรดกโลก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 (กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน) จำนวน 7 เป้าประสงค์ จำนวน 7 ตัวชี้วัด

  46. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: สร้างแรงจูงใจและดึงดูดผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศมาอยู่ในพื้นที่ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา จำนวน 7 เป้าประสงค์ จำนวน 11 ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 (กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน)

  47. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4: ศูนย์กลางเชื่อมโยงรับและกระจายสินค้าระหว่างภาคต่างๆ จำนวน 5 เป้าประสงค์ จำนวน 5 ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่4 (กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน)

  48. มิติด้านพัฒนาองค์กร มิติด้านพัฒนาองค์กร (กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน) จำนวน 2 เป้าประสงค์ จำนวน 2 ตัวชี้วัด

  49. ระดับกรม ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ระดับสำนัก / กอง ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล ระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลของจังหวัดปทุมธานี 2

  50. แผนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานีแผนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1.พัฒนาความรู้และการจัดการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม “ปทุมธานีเป็นเมืองศูนย์กลางการศึกษาวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยี เสริมสร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วิสัยทัศน์ จังหวัดปทุมธานี ประเด็นยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2.การผสมผสานทักษะกับความรู้ในการพัฒนาสินค้าเชิงวัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเที่ยวมรดกโลก 3.สร้างแรงจูงใจ และดึงดูดผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศมาอยู่ในพื้นที่ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา 4.ศูนย์กลางเชื่อมโยงรับและกระจายสินค้าระหว่างภาคต่างๆ 1. การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย 4. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบบูรณาการ 3. มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชน ที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี 2. จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองที่น่าอยู่

More Related