1 / 31

บทที่ 1 บทนำ Introduction of SAFETY in Chemical Plants

บทที่ 1 บทนำ Introduction of SAFETY in Chemical Plants. Instructor: Assc.Prof . Nurak Grisdanurak Dr. Pongtanawat Khemthong ( Guset ). 1.1 ตัวอย่างอุบัติเหตุและอุบัติภัยจากสารเคมี 1.2 เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย 1.2.1 แก๊สพิษรั่วในโรงงาน

hagen
Download Presentation

บทที่ 1 บทนำ Introduction of SAFETY in Chemical Plants

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 1 บทนำ • Introduction of • SAFETY in Chemical Plants Instructor: Assc.Prof. Nurak Grisdanurak Dr. PongtanawatKhemthong (Guset)

  2. 1.1 ตัวอย่างอุบัติเหตุและอุบัติภัยจากสารเคมี 1.2 เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย 1.2.1แก๊สพิษรั่วในโรงงาน 1.2.2การระเบิดและเพลิงไหม้ของถังเก็บอะคริโลไนไตรล์ 1.2.3เหตุระเบิดและไฟไหม้ถังเก็บเอทิลีนไดคลอไรด์ 1.2.4 เหตุการณ์รั่วไหลของโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 1.2.5เหตุการณ์รั่วไหลของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ 1.2.6เหตุระเบิดและไฟไหม้บ่อก๊าซไบโอมีเทน 1.3 ตัวอย่างกฎหมายเกี่ยวข้องกับมลพิษ 1.4 ความเกี่ยวข้องของเนื้อหา คำถามท้ายบท บทที่ 1 หน้า 1/15

  3. การรั่วไหลของสาร และการเกิด เพลิงไหม้ของสารเคมีที่รั่วไหล(2) อุบัติเหตุในโรงงานอาหาร(1) • ที่มา(1) ภิญโญ พานิชพันธ์/ พัชรทิพ รื่นวานา มหันตภัยจากวัตถุเคมี: ความเสี่ยงและอันตราย 2544 (2) สรุป เหตุการณ์อุบัติภัยสารเคมีรั่วไหลของบริษัทอดิตยา เบอร์ล่า ศูนย์ประสานงานพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) 2553 บทที่ 1 หน้า 2/15

  4. ตัวอย่างอุบัติเหตุและอุบัติภัยจากสารเคมีตัวอย่างอุบัติเหตุและอุบัติภัยจากสารเคมี บทที่ 1 หน้า 3/15

  5. รถบรรทุกแก๊ส LPG ของบริษัทสยามพลิกคว่ำ เกิดแก๊สรั่วไหล และเพลิงไหม้ มีผู้เสียชีวิตและทรัพย์สินเสียหายมาก http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2009/05/X7859487/X7859487.html

  6. ตัวอย่างอุบัติเหตุและอุบัติภัยจากสารเคมีตัวอย่างอุบัติเหตุและอุบัติภัยจากสารเคมี บทที่ 1 หน้า 4/15

  7. เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย แก๊สพิษรั่วในโรงงาน กรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 35% รั่วในโรงงานทำให้พนักงานกว่า 1,000 คน วิ่งหนีและกว่า 200 คน • ที่มาคัดลอกจาก หนังสือพิมพ์ “ผู้จัดการ ประจำวันที่ 11 มกราคม 2549” บทที่ 1 หน้า 5/15

  8. เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย การระเบิดและเพลิงไหม้ของถังเก็บอะคริโลไนไตรล์ เกิดระเบิดขึ้นทำให้ฝาถังด้านบนของถังเก็บกระเด็นไปไกลประมาณ 70 เมตร และเกิดเพลิงไหม้ออกมาจากด้านบนของถังเก็บ ที่มาคู่มือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูงที่มีการนำเข้าในโรงงานอุตสาหกรรม (อะคริโลไนไตรล์) กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2551 บทที่ 1 หน้า 6/15

  9. เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย เหตุระเบิดและไฟไหม้ถังเก็บเอทิลีนไดคลอไรด์ เกิดระเบิดและไฟลุกไหม้ขึ้นที่บริเวณลานถังปฏิกรณ์เอทิลีนไดคลอไรด์ ที่มาคู่มือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูงที่มีการนำเข้าในโรงงานอุตสาหกรรม (เอทิลีนไดคลอไรด์) กรมโรงงานอุตสาหกรรม2551 บทที่ 1 หน้า 7/15

  10. เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย เหตุการณ์รั่วไหลของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ มีก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในพื้นที่บริเวณถังเก็บผลิตภัณฑ์ก๊าซคาร์บอนไดซัลไฟด์สูงเกินปกติ ระหว่างการแก้ไขอุปกรณ์เครื่องจักร พนักงานสูดดมก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์เข้าไปเกินขนาดเป็นเหตุให้เสียชีวิต 1 คน และบาดเจ็บเข้ารักษาตัว 4 คน บทที่ 1 หน้า 8/15

  11. เรียนรู้จากอุบัติภัยของสารเคมีอันตราย เหตุระเบิดและไฟไหม้บ่อก๊าซไบโอมีเทน เกิดเหตุระเบิดของแก๊สชีวภาพทำให้เกิดเพลิงไหม้ลุกลามตัวอาคารโรงงาน มีผลให้คนงานได้รับบาดเจ็บทันทีมากกว่า 30 ราย มีอาการสาหัสหนัก 24 ราย โดยบางคนถูกไฟลวกร่างกายประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ และต่อมาเสียชีวิต 7 คน ที่มาร่างประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องกำหนดค่าเฝ้าระวังสำหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง สืบค้นจาก www.pcd.go.thวันที่ 25 สิงหาคม 2551 บทที่ 1 หน้า 9/15

  12. การรั่วไหลของสาร และการเกิด เพลิงไหม้ของสารเคมีที่รั่วไหล(2) อุบัติเหตุในโรงงานอาหาร(1) • ที่มา(1) ภิญโญ พานิชพันธ์/ พัชรทิพ รื่นวานา มหันตภัยจากวัตถุเคมี: ความเสี่ยงและอันตราย 2544 (2) สรุป เหตุการณ์อุบัติภัยสารเคมีรั่วไหลของบริษัทอดิตยา เบอร์ล่า ศูนย์ประสานงานพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) 2553 บทที่ 1 หน้า 10/15

  13. The world’s worst chemical release (1984)Case: Bhopal, India Refs: Al-Jazeera National Geographic channel

  14. Clip 1

  15. Phosgene MIC: mythylisocyanate Methylamine 1-naphthol Carbaryl MIC • Methyl isocyanate is an intermediate chemical in the production of carbamatepesticides (such as carbaryl, carbofuran). It has also been used in the production of rubbers and adhesives. As a highly toxic and irritating material, it is extremely hazardous to human health. • Very soluble in water

  16. Clip 2

  17. Methylisocyanatecontains N-H or O-H groups. Withwater, itforms1,3dimethylurea + CO2 + heat (325 cal/g MIC)

  18. Clip 3

  19. Nypro plant by Dutch Shell Company Produced caprolactum N2H(CH2)5 COOH From benzene to Nylon 6 http://www.docstoc.com/docs/3840618/FLIXBOROUGH-A-MODIFICATION-ACCIDENT-JUNE-1974

  20. ตัวอย่างกฎหมายเกี่ยวข้องกับมลพิษตัวอย่างกฎหมายเกี่ยวข้องกับมลพิษ การขนส่ง การเก็บ การใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรม การปล่อยทิ้ง การจัดการกากของเสียอันตราย (น้ำ อากาศ และกากของแข็ง) บทที่ 1 หน้า 11/15

  21. ตัวอย่างกฎหมายเกี่ยวข้องกับมลพิษตัวอย่างกฎหมายเกี่ยวข้องกับมลพิษ • ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีพ.ศ. 2534 • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัย • ในการทำงานในที่อับอากาศพ.ศ.๒๕๔๙ • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2542) เรื่องคุณสมบัติเจ้าหน้าที่ที่ดำเนินการเกี่ยวกับโรงงานที่มี • การใช้สารกัมมันตรังสี • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน • ที่เกี่ยวกับการผลิต การเก็บ การบรรจุ การใช้ และการขนส่งก๊าซ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วพ.ศ. 2548 • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2539) เรื่อง กำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบาย • ออกจากโรงงาน บทที่ 1 หน้า 12/15

  22. ระเหย ความเกี่ยวข้องของเนื้อหา ลักษณะโครงสร้างของสารอันตรายอาจมีผลต่อสิ่งมีชีวิต บทที่ 1 หน้า 13/15

  23. ความเกี่ยวข้องของเนื้อหาความเกี่ยวข้องของเนื้อหา บทที่ 1 หน้า 14/15

  24. คุยกันเรื่องคำถามท้ายบทคุยกันเรื่องคำถามท้ายบท • ปัจจุบันมีการใช้สารเคมีมากจึงมีองค์กรต่างๆ พยายามที่จะจัดลำดับความอันตรายร้ายแรงขึ้น สารเคมี 4 ตัวที่กำหนดให้ สารใดมีความเป็นอันตรายมากกว่ากัน ให้เหตุผลประกอบ หรือให้เอกสารอ้างอิงประกอบ Acrylonitrile Ethylene dichloride Methanol Xylene • จากตัวอย่างความสูญเสียเนื่องจาก Acrylonitrileหรือ Ethylene dichloride ดังแสดงในหัวข้อ 1.2 ให้จัดทำเอกสารแบบเดียวกันสำหรับสาร Vinyl chloride monomer และ Vinyl acetate monomer เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบสาเหตุที่ทำให้เกิดความสูญเสีย • สารอินทรีย์ระเหยง่ายที่อยู่ในข่ายเฝ้าระวังในหัวข้อ 1.3 มีใช้ในอุตสาหกรรมใดบ้าง (เลือกมาเพียง 1 ชนิด) บทที่ 1 หน้า 15/15

More Related