1 / 41

IT vs. Human

การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น Blended Learning 2.0 for Student-Based Learning Approach Using Internet Applications. by ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์ (Nuth Otanasap)  มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ South-east Asia University, August 9, 2011

jalen
Download Presentation

IT vs. Human

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นBlended Learning 2.0 for Student-Based Learning ApproachUsing Internet Applications by ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์ (Nuth Otanasap) มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์South-east Asia University, August 9, 2011 Email: nuto@sau.ac.th, Website:www.auisuke.com

  2. IT vs. Human • มนุษย์ค้นพบสิ่งใหม่ทุกวันอยู่ตลอดเวลา • ความรู้ความรู้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง • ความรู้ล้าสมัยเร็ว • ข้อมูลข่าวสารเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก • การเรียนรู้ไม่อาจจำกัดอยู่เพียงในชั้นเรียน • มนุษย์จำเป็นต้องปรับตัวในการดำรงชีวิต • ต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสังคมที่เปลี่ยนไป (Life Long Learning) (Lertkulvanich, 2008) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  3. IT vs. Human IT • วิธีการเรียนรู้ แหล่งความรู้ และวิธีเข้าถึงแหล่งความรู้ • เกิดการหมุนเวียน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันอย่างรวดเร็ว • เกิดระบบนิเวศน์การเรียนรู้ที่สลับ ซับซ้อน • มีกลุ่มคนที่สนใจเรื่องเดียวกันมารวมกลุ่มกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ทำให้เกิดการสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน • อินเตอร์เน็ต เว็บ ชุมชนออนไลน์ และนิเวศน์การเรียนรู้อื่นๆ เป็นเครื่องมือสำคัญ (Lertkulvanich, 2008) (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  4. กระบวนการการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student-based Learning) • ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ • ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด • กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพตามธรรมชาติของแต่ละบุคคล • การจัดการเรียนรู้ระดับการอุดมศึกษา • มุ่งพัฒนาความรู้และทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม (สกอ, 2551) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  5. 1) การเรียนรู้จากกรณีปัญหา (Problem-based Learning : PBL) • ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง  • ผู้เรียนคิดและดำเนินการเรียนรู้ กำหนดวัตถุประสงค์ และเลือกแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง  • ผู้สอนเป็นผู้ให้คำแนะนำ เป็นการส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหามากกว่าการจำเนื้อหาข้อเท็จจริง  • ส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่มและพัฒนาทักษะทางสังคม  • เหมาะกับการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  6. เงื่อนไขที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ แบบ PBL • ความรู้เดิมของผู้เรียน ทำให้เกิดความเข้าใจข้อมูลใหม่ได้  • การจัดสถานการณ์ที่เหมือนจริง ส่งเสริมการแสดงออก • การนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ  • การให้โอกาสผู้เรียนได้ไตร่ตรองข้อมูลอย่างลึกซึ้ง  • ทำให้ผู้เรียนตอบคำถาม จดบันทึก สอนเพื่อน สรุป วิพากษ์วิจารณ์สมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ได้ดี Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  7. 2) การเรียนรู้เป็นรายบุคคล (individual study) • บุคคลมีความสามารถในการเรียนรู้ และความสนใจในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน  • จำเป็นที่จะต้องมีเทคนิคหลายวิธี เพื่อช่วยให้การจัดการเรียนในกลุ่มใหญ่สามารถตอบสนองผู้เรียนแต่ละคนที่แตกต่างกันได้ 2.1 เทคนิคการใช้ Concept Mapping  2.2 เทคนิค Learning Contracts  2.3 เทคนิค Know –Want-Learned  2.4 เทคนิคกระบวนการกลุ่ม (Group Process)  Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  8. 2) การเรียนรู้เป็นรายบุคคล (individual study) 2.1 เทคนิคการใช้การทำแผนผังแนวคิด (Concept Mapping) การตรวจสอบความคิดของผู้เรียนว่าคิดอะไร เข้าใจสิ่งที่เรียนอย่างไร 2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผู้เรียนกับผู้สอนร่วมกันกำหนด ใช้เป็นหลักยึดในการเรียนว่าจะเรียนอะไร อย่างไร เวลาใด ใช้เกณฑ์อะไรประเมิน 2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใช้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ผสมผสานกับ การใช้ Mapping ความรู้เดิม เทคนิคการรายงานหน้าชั้นจากการค้นคว้า 2.4 เทคนิคกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นการเรียนที่ทำให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาให้สำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  9. 3) การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) “ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยอาศัยประสบการณ์แห่งชีวิต ที่ได้รับเพื่อค้นหาความจริง”  มุมมองแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่  - กลุ่มที่เน้นกระบวนการรู้คิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personal Constructivism or cognitive oriented constructivist theories)  - กลุ่มที่เน้นการสร้างความรู้โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social constructivism or socially oriented constructivist theories)  Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  10. 3) การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) กลุ่มที่เน้นกระบวนการรู้คิดในตัวบุคคล เน้นการเรียนรู้ของมนุษย์เป็นรายบุคคล โดยมีความเชื่อว่ามนุษย์แต่ละคนรู้วิธีเรียนและรู้วิธีคิด เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  11. 3) การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) กลุ่มที่เน้นการสร้างความรู้โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เน้นว่า ความรู้ คือ ผลผลิตทางสังคม โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นสองประการ คือ  1) ความรู้ต้องสัมพันธ์กับชุมชน 2) ปัจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตร์มีผลต่อการเรียนรู้ ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  12. 4) การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Study) ให้ผู้เรียนศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้ในการเรียนรู้ทั้งที่เป็นรายบุคคล และ กระบวนการกลุ่ม • การจัดการเรียนการสอนแบบสืบค้น (Inquiry Instruction)  2. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)  3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem Solving)  4. การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning)  Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  13. 5) การเรียนรู้ที่ใช้วิธีสร้างผลงานจากการตกผลึกทางปัญญา (Crystal-Based Approach) • ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ความรู้ความคิดด้วยตนเอง • รวบรวม ทำความเข้าใจ สรุป วิเคราะห์ และสังเคราะห์จากการศึกษาด้วยตนเอง  Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  14. 5) การเรียนรู้ที่ใช้วิธีสร้างผลงานจากการตกผลึกทางปัญญา (Crystal-Based Approach) วิธีการเรียนรู้ • ทำความเข้าใจกับผู้เรียนให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ • ทำความเข้าใจในเนื้อหาและประเด็นหลักๆ ของรายวิชา  • มอบหมายให้ผู้เรียนไป ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร แนวคิดตามประเด็นที่กำหนด  • ให้ผู้เรียนพัฒนาแนวคิดในประเด็นต่างๆ แยกทีละประเด็น  • ให้ผู้เรียนเขียนประเด็นเหล่านั้นเป็นผลงานในลักษณะที่เป็นแนวคิดของตนเอง • ผ่านการกลั่นกรอง วิเคราะห์เจาะลึกจนตกผลึกทางความคิดเป็นของตนเอง  • นำเสนอให้กลุ่มเพื่อนได้ช่วยวิเคราะห์ วิจารณ์อีกครั้ง Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  15. ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)

  16. ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรียนรู้และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ • สามารถเรียนรู้ สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ได้ด้วยตนเอง • การคิดและแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ • การร่วมมือ การติดต่อสื่อสาร และการนำเสนอ • สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)

  17. ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะชีวิตและอาชีพ • ความสามารถในการปรับตัวทั้งชีวิตส่วนตัว และการงานความคิดริเริ่มและมีแนวคิดของตัวเอง • ทักษะทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณีทั้งของพื้นถิ่น และข้ามชาติ • ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ที่สามารถตรวจสอบได้ • มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)

  18. ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางเทคโนโลยี • ความรู้ทางสารสนเทศขั้นพื้นฐาน • ความรู้เกี่ยวกับสื่อขั้นพื้นฐาน • ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขั้นพื้นฐาน Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)

  19. เทคโนโลยีการเรียนรู้ 2.0 (Learning 2.0) • Web 2.0 มุ่งเน้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม โดยการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสังคม สนับสนุนให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้โดยทัดเทียมกัน • พัฒนาประสิทธิภาพในการเรียนรู้ 2.0 (Learning 2.0) • สนับสนุนให้เกิดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากขึ้น • เว็บ 2.0 สนับสนุนให้ผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา และนำเสนอเนื้อหาที่ตนเองสร้างขึ้นรวมทั้งนำเนื้อหาอื่นๆ จากอินเตอร์เน็ตมาผสมผสานเข้าด้วยกัน แล้วนำเสนอผ่านเว็บ (Wangpipatwong, 2009) & (Vate-U-Lan, 2009) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  20. เทคโนโลยีการเรียนรู้ 2.0 (Learning 2.0) • สนับสนุนชุมชนแห่งการเรียนรู้(Community) • การเรียนผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobility) • เนื้อหาเปิด(Open Content) • เทคโนโลยีเปิด (Open Technology) • โอเพ่นซอร์ส (Open Source) • การเรียนรู้ร่วมกัน (Contributing) (Sambandaraksa, 2008 อ้างถึงใน Valte-U-Lan, 2008) • ความสามารถในการแบ่งปัน(Sharing) • การร่วมมือการทำงานร่วมกัน (Collaboration) • การบริการ (Services) • ความรวดเร็ว(Speed) • การทำงานแบบหลายงานพร้อมกัน(Multitasking) • สื่อผสม(Multimedia) (Sambandaraksa, 2008 อ้างถึงใน Valte-U-Lan, 2008) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  21. Web 1.0 กับ 2.0 Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  22. e-Learning 1.0 vs 2.0 Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  23. อินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น (Internet Application) • ซอฟต์แวร์บริการ (SaaS: Software as a Service) (IPA, 2009) • ซอฟต์แวร์เว็บ 2.0 สามารถเข้าถึงได้ ผ่านอินเตอร์เน็ตด้วยเว็บเบราเซอร์ • ไม่จำเป็นต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง • ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหารวมทั้งการบำรุงรักษา • สามารถเข้าถึงและสร้างงานได้ทุกที่ทุกเวลา (AnyoneAnytime Anywhere) • มีให้ใช้ฟรีเป็นจำนวนมาก • ส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ที่มุ่งเน้นการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  24. อินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่ออินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่อ การเรียนรู้เชิงผสมผสานแบบ 2.0(Blended Learning 2.0) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  25. อินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่ออินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่อ การเรียนรู้เชิงผสมผสานแบบ 2.0 (Blended Learning 2.0) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  26. การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0บทบาทครูและนักเรียนที่เปลี่ยนไป Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  27. ขั้นตอนการเรียนการสอนเชิงผสมผสาน 2.0 ที่มีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางด้วยอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  28. การเรียนในชั้นเรียน (In Class: Face to Face) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  29. การเรียนจากกรณีปัญหา (Problem-based Learning) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  30. Student-based Learning Google Apps & Google Sites One Stop Services PICCS Blended Learning 2.0

  31. One-Stop Service Website for One-stop Service Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com https://sites.google.com/site/auisuke/ecommerce

  32. One-Stop Service Online Quiz Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  33. One-Stop Service E-Book, Online Orientation, Online Assignment Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  34. One-Stop Service Online Score Report Online Self Assessment Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com Collaborative Commentator

  35. One-Stop Service Online Assignment Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  36. One-Stop Service Online Document Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com Online Document: แบ่งปัน ความร่วมมือผสมผสาน และความสามารถในการเข้าถึงเพื่อทำงานร่วมกัน

  37. One-Stop Service Online Advertising as VDO Clip Online HW submission Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  38. One-Stop Service Google Site Online Presentation Online Survey Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  39. สรุป • เทคโนโลยีเว็บ 2.0 และอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น • สามารถนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกันให้เกิดการเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • สามารถลดปัญหาด้านค่าใช้จ่ายในการจัดหาซอฟต์แวร์ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ • สามารถลดปัญหาทางด้านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง และผู้เรียนกับผู้สอน Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  40. สรุป • จากการทดลอง ผู้เรียนมีความพึงพอใจในกระบวนการเรียนรู้ และมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น • สามารถนำศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ • ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ได้เป็นอย่างดี • สร้างพื้นฐานให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com

  41. Thanks ภาษาดีประพฤติดี        อีกทั้งมีรสนิยม ความคิดไตร่ตรองคม    มั่นคงตรงไม่แปรผัน ค้นคว้าก้าวหน้าสู้          คิดค้นอยู่ทุก คืนวัน สมองไวคิดได้พลัน    ทุกสิ่งสรรพสัมฤทธิ์เร็ว บัณฑิตในอุดมคติ โดย วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา เว็บไซต์ผู้บรรยาย WWW.AUISUKE.COM คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2545

More Related