1 / 39

Africa and South east Asia

การศึกษาความเสี่ยงของการเกิดโรคไข้หวัดนกในพื้นที่กันชนรอบระบบฟาร์ม compartment อภิสิทธิ์ ปราการกมานันท์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.). Africa and South east Asia. focal persons. DLD: K. Chanachai, K. Kongsathapornchai

Download Presentation

Africa and South east Asia

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาความเสี่ยงของการเกิดโรคไข้หวัดนกในพื้นที่กันชนรอบระบบฟาร์ม compartmentอภิสิทธิ์ ปราการกมานันท์สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

  2. Africa and South east Asia

  3. focal persons DLD: K. Chanachai, K. Kongsathapornchai RVC: R. Metras, C. Marce, A. Prakarnkamanant, and D. Pfeiffer KU: S. Kasemsuwan, C. Poolkhet, T. Patanasatienkul, N. Buameetoop, M. Watanakul www.hpai-research.net.

  4. ขั้นตอน • กำหนดหัวข้อการศึกษาระยะที่ 1 (เชิงคุณภาพ) • กำหนดทีมที่จะทำการศึกษา • สร้าง Risk pathway • เก็บข้อมูล – กรมปศุสัตว์ เกษตรกร นักวิจัย • สรุปผล • กำหนดหัวข้อศึกษาในระยะที่ 2 (เชิงปริมาณ)

  5. Risk question (ระยะที่ 1) • ความเสี่ยงของการเกิดโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกที่เลี้ยงในพื้นที่ buffer zone รอบฟาร์มในระบบ compartment The risk of Introduction and Transmission of H5N1 HPAI infection into 1-km buffer zone around a compartmentalized farm

  6. Buffer zone Compartment farm

  7. Release Pathway

  8. Expose Pathway

  9. วิธีการศึกษา (1) • วิธีการเก็บข้อมูล: โดยการระดมสมอง สัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น เจ้าหน้าที่กรมฯ นักวิชาการ บริษัท เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ buffer zone • พื้นที่ทำการศึกษา: พื้นที่ (อำเภอ และจังหวัด) ที่มีฟาร์มในระบบ Compartment (ฟาร์มบริษัท และฟาร์ม contract) มาก คือ จังหวัด นครปฐม สระบุรี ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และเพชรบูรณ์

  10. วิธีการศึกษา (2) • ระยะเวลาที่ศึกษา: กุมภาพันธ์ 08-กรกฎาคม 08 • ระยะเวลาที่เก็บข้อมูล: พฤษภาคม 08-สิงหาคม 08 • ตัวอย่างตัวแปรที่เก็บข้อมูล • Release: ความชุกของโรคในสัตว์ปีกหรือcarrier, ความถี่ที่นำเข้าสัตว์ปีกหรือ carrier นั้นมาใน Buffer zone • Expose: ระยะการมีชีวิตรอดของสัตว์เมื่อติดโรค, โอกาสของการสัมผัสระหว่างสัตว์ปีกหรือ carrier กับสัตว์ปีกใน buffer zone

  11. Release scale

  12. Exposure scale

  13. Not known There is no data available, no reference, no personal communication and no experience.

  14. Combination matrix for risk estimation

  15. Compartmentalization farms

  16. ผลการศึกษา: รวม

  17. ผลการศึกษา: นกธรรมชาติ ประมาณ 70% ของพื้นที่ใน buffer zone เป็นพื้นที่สูงโอกาสในการพบนกอพยพน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพาะปลูกดังนั้นจะพบนกบ้านอาศัยอยู่มาก นกธรรมชาติที่อาศัยอยู่ตามบ้านหลายชนิดมีความสามารถในการนำโรคไข้หวัดนกได้ เช่น นกกระจอก นกพิราบ? นกยาง นกเอี้ยง นกเป็ดน้ำ จากการเฝ้าระวังโรคในนกธรรมชาติโดย ม.มหิดล และ กระทรวงทรัพยากรฯ ไม่พบว่ามีนกธรรมชาติในประเทศไทยให้ผลบวกต่อโรคไข้หวัดนก การสอบสวนโรคของเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ นกธรรมชาติเป็นชนิดสัตว์ที่ถูกสงสัยว่าจะเป็นตัวนำโรคในการระบาดหลายครั้ง

  18. ผลการศึกษา: สัตว์ปีกมีชีวิต 70-80% ของสัตว์ปีกพื้นบ้านใน buffer zone เลี้ยงแบบ free-ranging 50-60% ของเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ปีกพื้นบ้านนำเข้าสัตว์ปีกโดยไม่ได้คำนึงถึงแหล่งที่มา มีการนำสัตว์ปีกพื้นบ้านเข้ามาใหม่ในพื้นที่น้อย ในบางพื้นที่บริษัทจะซื้อไก่พื้นเมืองที่อยู่ใน buffer zone เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคในพื้นที่

  19. ผลการศึกษา: เป็ดไล่ทุ่ง ในพื้นที่ buffer zone มีจำนวนเป็ดไล่ทุ่งน้อย และเป็ดไล่ทุ่งที่เข้ามาเลี้ยงจำนวนน้อย ในการใช้กฎระเบียบในระดับชุมชนมาใช้ในการห้ามการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง พื้นที่หากินของเป็ดไล่ทุ่งมักจะห่างไกลจากพื้นที่หมู่บ้านทำให้โอกาสของการสัมผัสกับสัตว์ปีกพื้นบ้านมีน้อย (ยกเว้นเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงแบบเช้าไปเย็นกลับ?) ในบางพื้นที่มีโรงฆ่าเป็ดอยู่ในพื้นที่ buffer zone

  20. ผลการศึกษา: หนู แมลง มีการตรวจพบ หนูที่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในช่วงที่มีการระบาดระยะแรก ๆ (2004) ระยะทางหากินของหนูสามารถไปไกลได้ 2-3 ก.ม. แต่โดยส่วนมากจะหากินที่ใกล้ ๆ อาจพบหนูถ่ายใส่อาหารไก่ มีรายงานการตรวจพบเชื้อไวรัสในยุงในปี 2004 (Mechanical transmission?)

  21. ผลการศึกษา: สุนัข แมว มีการรายงานการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในสุนัข และแมวในประเทศไทย การศึกษาระดับ antibody ต่อ H5 ในสุนัขในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกพบว่ามีสุนัขที่มีภูมิคุ้มกัน 25% (false positive?) อบรมชาวบ้านในการกำจัดซากสัตว์ปีก โอกาสสุนัขคาบซากน้อย

  22. ผลการศึกษา: แม่น้ำ ลำคลอง ไวรัสสามารถอยู่ได้นานในแหล่งน้ำธรรมชาติ (4 วัน) พฤติกรรมการโยนไก่ทิ้งในปัจจุบันมีน้อยลงกว่าในอดีต ส่วนมากที่ดอน อาจพบน้ำหลาก และในอดีตมีสัตว์ปีกตายหลังน้ำหลาก

  23. ผลการศึกษา: อุปกรณ์ (เช่นอุปกรณ์ชนไก่ เป็ดไล่ทุ่ง) 7% ของครัวเรือนในพื้นที่ buffer zone เลี้ยงไก่ชนซึ่งมีการซื้อ-ขายไก่อยู่ตลอด เกษตรกรไก่ชนโดยส่วนมากดูแลไก่ของตนเองเป็นอย่างดี ไม่นำไก่ไปชนหากทราบข่าวการเกิดโรค การติดเชื้อโดยมูลเป็ดไล่ทุ่งที่อยู่ตามพื้นกรงขนย้าย และเสียม มีโอกาสเป็นไปได้

  24. ปุ๋ย มีการขนย้ายปุ๋ยขี้ไก่เข้ามาในพื้นที่ buffer zone บางแห่งจำนวนมาก ส่วนมากมีการตากแดดไว้ก่อนการนำมาใช้ซึ่งจะทำให้ไวรัสตายก่อนที่จะติดเชื้อไปไก่

  25. เนื้อไก่ และผลิตภัณฑ์จากไก่ โดยส่วนมากเกษตรกรจะไม่ซื้อเนื้อไก่มาบริโภคแต่จะบริโภคไก่ของตนเอง การสำรวจในช่วงที่มีการระบาดของโรคสามารถพบเนื้อที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในท้องตลาด

  26. คน เป็นตัวพาโรคที่สำคัญโดยเฉพาะในกลุ่มผู้เลี้ยงไก่ชน น่าจะเป็นคนที่ไปดูไก่มากกว่า น่าเก็บข้อมูลในบ่อน การให้ความรู้กับเกษตรกรในการป้องกันสัตว์ปีกของตนเองติดโรคมีความสำคัญอย่างมาก อาชีพเพาะปลูก อาสา

  27. ยานพาหนะ • รถขนมูลไก่ รถรับจ้างไถนา • เคยพยายาม isolate เชื้อไวรัสจากรถ แต่ไม่พบ • รถจักรยานยนต์อาจมีเชื้อได้ ยานพาหนะ ต่ำมาก - ต่ำมาก สูง

  28. ผลการศึกษา: รวม

  29. สรุปผลการศึกษา จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณพบว่าการระบาดของโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกในพื้นที่ buffer zone มีโอกาสเกิดจากนกธรรมชาติ และการนำสัตว์ปีกมีชีวิตเข้าในระดับต่ำมาก ส่วนการนำโรคโดยวิธีการอื่น ๆ นั้นมีโอกาสอยู่ในระดับ Negligible ปัจจัยที่เป็นตัวแปรที่สำคัญของโอกาสการเกิดโรค คือ สภาวะโรคบริเวณรอบ ๆ พื้นที่ buffer zone

  30. ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาระบบ Compartment • การป้องกันและควบคุมโรคใน Buffer zone มีความสำคัญต่อการเกิดโรคในฟาร์ม แต่มาตรการใน Buffer zone ไม่ได้แตกต่างจากพื้นที่ปกติทั่วไป ยกเว้น ระบบเฝ้าระวังโรคที่เข้มงวดมากขึ้น ดังนั้น • ให้ความสำคัญกับการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ buffer zone และรอบพื้นที่ Buffer zone โดยการสร้างความร่วมมือกับบริษัท หรือชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค • การประชาสัมพันธ์ให้กับเกษตรกร หรือชุมชน ในพื้นที่ buffer zone ในด้านการเฝ้าระวังโรค การเคลื่อนย้ายสัตว์เข้า-ออกมีความสำคัญ

  31. Risk questions • “What is the risk of introducing HPAI H5N1 via fighting cock activity into the buffer zone around compartmentalized farms?” • “What is the risk of introducing HPAI H5N1 resulting from introduction of backyard chickens into the buffer zone around compartmentalized farms?”

  32. Definition • ไก่ชน:ไก่เพศผู้ที่มีกิจกรรมเพื่อการชนไก่ • ไก่ backyard: ไก่ที่เลี้ยงแบบปล่อยหากินทั่วไป

  33. สื่อที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมชนไก่สื่อที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมชนไก่ • คน / ยานพาหนะ • ผู้เลี้ยง • คนดู • คนซ้อมไก่ • มือน้ำ • อุปกรณ์ที่ใช้ในการชนไก่ • เตา กระเบื้อง พรม กล่องไก่ • ไก่ชน / อาจสัมผัสนกตอนปล่อยหากิน (หากเป็นฟาร์มจะดูแลดีไม่สัมผัส)

  34. Risk pathways • In process • Data collection • Empirical studies • Field study: June-August, 2009- questionnaires, laboratory • Data analysis: August –September 2009 • Presentation of results: stakeholders

  35. Next steps • Develop the model for further study: control measures • Data collection: administer unit-ตำบล • Data analysis

  36. แหล่งที่มา (Prevalence) High riskLow risk Exudates, dropping นกบ้าน Exudates, dropping สิ่งแวดล้อม/อุปกรณ์/ยานพาหนะ ไก่ คน ตรวจพบว่าเป็นโรคหรือไม่ Clinical examination & Cloacal swab อาบน้ำก่อนออกจากบ้าน? อุปกรณ์ มีการล้อมรั้ว/ตาข่าย? No No ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ยานพาหนะ ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? สนามไก่ชน ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? บ้าน/ฟาร์ม ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? อาบน้ำ/เปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้าบ้าน? Quarantine? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ?

  37. แหล่งที่มา (Prevalence) High riskLow risk Exudates, dropping Exudates, dropping นกบ้าน ไก่ สิ่งแวดล้อม/อุปกรณ์/ยานพาหนะ คน ตรวจพบว่าเป็นโรคหรือไม่ Clinical examination & Cloacal swab อาบน้ำก่อนออกจากบ้าน? อุปกรณ์ No ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? มีการใช้ร่วมกัน/ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ยานพาหนะ ทำความสะอาดตลาด? ตลาดขายไก่ ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อระหว่างการเดินทาง? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อระหว่างการเดินทาง? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อระหว่างการเดินทาง? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์มอื่น? ยานพาหนะ ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? อาบน้ำ/เปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้าบ้าน? Quarantine? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? บ้าน/ฟาร์ม สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ?

  38. ขอบคุณครับ ถามตอบ?

More Related