1 / 28

โดย ธนาคารออมสิน ฝ่ายสินเชื่อเพื่อสังคมและชุมชน กุมภาพันธ์ 2550

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ข้าราชการพลเรือนสามัญ. โดย ธนาคารออมสิน ฝ่ายสินเชื่อเพื่อสังคมและชุมชน กุมภาพันธ์ 2550. ความเป็นมา. * ธนาคารออมสินได้เป็นสถาบันการเงินในการช่วยแก้ไข ปัญหาหนี้สินครูตามโครงการพัฒนาชีวิตครู * ข้าราชการพลเรือนได้ลงทะเบียนขอรับการแก้ไขปัญหาหนี้สิน

Download Presentation

โดย ธนาคารออมสิน ฝ่ายสินเชื่อเพื่อสังคมและชุมชน กุมภาพันธ์ 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ข้าราชการพลเรือนสามัญ โดย ธนาคารออมสิน ฝ่ายสินเชื่อเพื่อสังคมและชุมชน กุมภาพันธ์ 2550

  2. ความเป็นมา *ธนาคารออมสินได้เป็นสถาบันการเงินในการช่วยแก้ไข ปัญหาหนี้สินครูตามโครงการพัฒนาชีวิตครู *ข้าราชการพลเรือนได้ลงทะเบียนขอรับการแก้ไขปัญหาหนี้สิน ที่สำนักงาน ก.พ. จำนวน 33,577 คน จาก 20 กระทรวงฯ *ท่านเลขาธิการ ก.พ. ได้หารือกับ ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน *สำนักงาน ก.พ. ธนาคารออมสิน ได้เห็นความสำคัญของ ข้าราชการพลเรือน เพื่อให้ข้าราชการฯ สามารถเข้าถึงแหล่งทุน กู้เงินเพื่อนำไปชำระหนี้สินได้อย่างเบ็ดเสร็จ * ผู้เกี่ยวข้องได้ประสานงานกับหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณา ต่อไป

  3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตหัวใจสำคัญคือ“การพัฒนา”โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตหัวใจสำคัญคือ“การพัฒนา” วัตถุประสงค์  ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ควบคู่กับการแก้ไขปัญหาหนี้สิน หลักการ รวมหนี้ไว้แห่งเดียว ดอกเบี้ยในอัตราที่เหมาะสม เวลาส่งชำระนาน ครบปี คืนดอกเบี้ย 1 % สำหรับกลุ่มดี มีเงินออม ไม่มีหนี้ค้างชำระ

  4. เจตนารมณ์ พัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาหนี้สินครูให้ดีขึ้น อย่างบูรณาการ เบ็ดเสร็จ และสถาวร ยึดหลัก “เศรษฐกิจพอเพียง” อาศัยกระบวนการทางจิตใจ สังคม การจัดการ และการเงิน มีการรวมกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพื่อการพัฒนาร่วมกัน

  5. บทบาทของแต่ละฝ่าย ข้าราชการ หน่วยงาน ธนาคารออมสิน 1. คัดเลือกข้าราชการ 2. หักเงินเดือน 3. ส่งเสริมสนับสนุน 4. กำกับดูแล 5. มาตรการทางวินัย 6. ประสานนโยบาย กับรัฐบาล 1. สินเชื่อสร้างสรรค์ 2. ประสานสนับสนุน 3. ประสานนโยบาย กับกระทรวงการคลัง 4. ควบคุมคุณภาพ 5. รางวัลความดี 1. พึ่งพาตนเอง 2. ดูแลซึ่งกันและกัน 3. กิจกรรมพัฒนา 4. ควบคุมทางสังคม 5. กองทุนสำรอง สำนักงาน ก.พ. ประสานงาน และร่วมประเมินผลโครงการ

  6. ผู้เข้าร่วมโครงการ ฯ ต้องจิตใจที่เข้มแข็ง อดทน ปรับพฤติกรรม ลด ละ เลิก ดำรงตนตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” สร้างวินัยทางการเงินให้แก่ตนเอง รวมกลุ่มด้วยความสมัครใจ กลุ่มมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง หลักการที่สำคัญของผู้เข้าโครงการ ฯ

  7. ผลที่คาดว่าจะได้รับผลที่คาดว่าจะได้รับ ข้าราชการฯ ได้รับการปรึกษาในการแก้ไขหนี้ ข้าราชการฯ ได้รับการแก้ไขปัญหาหนี้สิน ข้าราชการฯ มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานดีขึ้น คุณภาพชีวิตข้าราชการฯ ดีขึ้น  ส่งผลถึงครอบครัว และหน้าที่การงาน สังคม และประเทศชาติ

  8. สรุปหลักเกณฑ์ที่สำคัญสรุปหลักเกณฑ์ที่สำคัญ  รวมหนี้มาอยู่ที่เดียวกัน อัตราดอกเบี้ยต่ำ  ระยะเวลาผ่อนชำระยาว  ต้องมีเงินออมสัจจะ สมาชิกในกลุ่มค้ำประกัน และดูแลซึ่งกันและกัน  ไม่มีหนี้ค้างชำระ ออมเงินสม่ำเสมอ ธนาคาร ฯ มีรางวัลให้

  9. การดำเนินงานโครงการพัฒนาชีวิต ฯ โครงการพัฒนาชีวิตครู  โครงการสินเชื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการทหารบก  โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการ ทหารอากาศ  โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด  โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาข้าราชการส่วนท้องถิ่น  ผู้ได้รับบริการ 132,764 คน จำนวน 84,911.48 ราย

  10. งานวิจัย ปี 2548 โดยศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ด้านเศรษฐกิจ สมาชิกหลักเข้าโครงการพัฒนาชีวิตครู * มีการสร้างวินัยทางการเงินแก่ตนเอง * มีการวางแผนการใช้เงิน สภาพคล่องทางการเงินดีขึ้น * มีการจัดการภาระหนี้สินทั้งนอกระบบและในระบบ ด้านคุณภาพชีวิต สังคม สภาพแวดล้อม การพัฒนาตนเอง * ความเป็นอยู่ดีขึ้น ครอบครัวมีความสุข * มีขวัญกำลังใจในการทำงาน * การศึกษาของสมาชิกในครอบครัว * ทัศนคติของเพื่อนร่วมงาน

  11. ธนาคารออมสินสนับสนุนสมาชิกโครงการ ฯ ปี 2547 * ให้รางวัลด้านการออม ปี 2548 * ให้ทุนแก่บุตรสมาชิก * สนับสนุนโรงเรียนที่สมาชิกโครงการฯเป็นผู้สอน * สนับสนุนเรียนรู้ดูงานในต่างประเทศ ปี 2549* ให้ทุนศึกษาต่อในประเทศแก่สมาชิก * สนับสนุนโรงเรียนที่สมาชิกโครงการฯเป็นผู้สอน * สนับสนุนเรียนรู้ดูงานในต่างประเทศ ปี 2550 * ให้ทุนศึกษาต่อในประเทศแก่สมาชิก * สนับสนุนโรงเรียนที่สมาชิกโครงการฯเป็นผู้สอน

  12. โครงการพัฒนาชีวิตครูหัวใจสำคัญคือ “การพัฒนา” ปี 2550 ธนาคารมีโครงการพัฒนาสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครู “การเสริมสร้างและพัฒนาต้นแบบ การบริหารจัดการตามโครงการพัฒนาชีวิตครู “ นำร่องใน 13 จังหวัด อบรมครูสมาชิกโครงการ เป็นวิทยากรแกนนำ หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาชีวิตตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”

  13. ตัวอย่างกลุ่มครูสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครูตัวอย่างกลุ่มครูสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครู อ.แสงเดือน ยศปัน กลุ่มเครือข่ายฯ อ.หางดง จ. เชียงใหม่ แก้ปัญหาหนี้สินได้ ชอบงานปั้น นำมาเป็นอาชีพเสริมและสอนนักเรียนนักเรียนมีรายได้

  14. ตัวอย่างกลุ่มครูสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครูตัวอย่างกลุ่มครูสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครู กิจกรรมเสริมรายได้กลุ่มย่อยที่ 4 อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน อาจารย์ศรีจันทร์ ปิงชัย และ อาจารย์กัลยา ไชยรัตน์ โครงการตัดเย็บเสื้อไตธรรมดา และแบบฉลุ เสื้อผ้าไทยใหญ่ ส่งจำหน่ายตามแหล่งท่องเที่ยว ของภาคเหนือ

  15. ตัวอย่างกลุ่มครูสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครู ตัวอย่างกลุ่มครูสมาชิกโครงการพัฒนาชีวิตครู กิจกรรมเสริมรายได้ อาจารย์สามารถ สิงห์พรหม กลุ่ม อ. เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ทำ HOME STAY ให้เช่าที่พักแรม แบบครบวงจร ที่บ้านรักไทย ต.หมอกจำแป๋

  16. การเป็นหนี้……ถือว่าเป็นวิกฤตของชีวิต……การเป็นหนี้……ถือว่าเป็นวิกฤตของชีวิต…… …ต้องได้รับการช่วยเหลือ แก้ไข และพัฒนา ให้ข้าราชการ ฯ มีชีวิตความเป็นอยู่ที่มั่นคง มีจิตใจปลอดโปร่ง เพื่อให้ข้าราชการทำหน้าที่ได้อย่างดีที่สุด

  17. ถ้าสนใจ ….. ทำอะไรต่อไป ทำบันทึกข้อตกลง……. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการพลเรือน ระหว่าง กระทรวง ฯ : ธนาคารออมสิน : สำนักงาน ก.พ. ตาม วัน เวลา สถานที่ ที่ตกลงร่วมกัน

  18. ข้าราชการพลเรือน…..ผู้สนใจเข้าโครงการฯข้าราชการพลเรือน…..ผู้สนใจเข้าโครงการฯ รวมกลุ่มย่อย 5-10 คน ด้วยความสมัครใจ สังกัดหน่วยจ่ายเงินเดือนเดียวกัน มีการออม กลุ่มย่อยหลาย ๆ กลุ่ม รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ ประมาณ 50 คน กลุ่มใหญ่ มีการบริหารจัดการ กลุ่มใหญ่เปิดบัญชีเผื่อเรียกฝากเงินออมกับธนาคาร กลุ่มใหญ่สมัครเป็นสมาชิกโครงการ ฯ กับธนาคาร กลุ่มมีความเข็มแข็ง  เข้าโครงการได้

  19. โครงสร้างของกลุ่ม กลุ่มใหญ่ 50 คนขึ้นไป อยู่อำเภอเดียวกัน กลุ่มย่อย 5- 10 คน ค้ำประกันซึ่งกันและกัน กลุ่มย่อย 5- 10 คน ค้ำประกันซึ่งกันและกัน กลุ่มย่อย 5- 10 คน ค้ำประกันซึ่งกันและกัน

  20. ลักษณะการรวมกลุ่ม 5 ก. การรวมตัวกัน โดยความสมัครใจ กลุ่มต้องมี คุณธรรม กลุ่มอุดมการณ์ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ กรรมการ • กลุ่มเข้มแข็ง • กลุ่มมีพลัง • กลุ่มมีการพัฒนา กฎเกณฑ์หรือ ระเบียบข้อบังคับ ความสามัคคี ความมีวินัย กิจกรรม ความเห็นอกเห็นใจ กองทุนสำรอง ผลที่ได้รับ * การมีส่วนร่วม * ความสำเร็จ * ความสมปราถนา

  21. กิจกรรมพัฒนา กิจกรรมสร้างเสริม วินัยทางการเงิน กิจกรรมลดรายจ่าย กิจกรรมเพิ่มรายได้ • 1. จัดทำแผน • รายรับ-รายจ่าย • 2. จัดให้มีการออม • อย่างต่อเนื่อง 1. ลด ละ เลิก อบายมุข และสิ่งฟุ่มเฟือย 2. ดำรงตนแบบ เศรษฐกิจพอเพียง 3. ปรับโครงสร้างหนี้ 1. ประหยัดลดค่าใช้จ่าย 2. ทำอาชีพเสริม กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม หรือกิจกรรมต่างๆซึ่งก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น

  22. เงื่อนไขการกู้เงินโครงการพัฒนาชีวิตฯเงื่อนไขการกู้เงินโครงการพัฒนาชีวิตฯ วงเงินกู้ต่อราย 2 ล้านบาท หลักประกัน - บุคคล (50 เท่าของเงินเดือน ไม่เกิน 7 แสนบาท) - หลักทรัพย์ (ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง 100% ที่ดินเปล่า 85% ห้องชุด 75% ของราคาประเมิน) กรณีหลักทรัพย์ ให้ทายาทที่มีรายได้แน่นอนเป็นผู้กู้ร่วมได้ โดยผู้กู้หลักมีอายุไม่เกิน 70 ปี ระยะเวลาส่งชำระ บุคคล 10 ปี / หลักทรัพย์ 30 ปี รวมอายุผู้กู้ไม่เกิน 65 ปี อัตราดอกเบี้ย MLR เงินสนับสนุนพิเศษ จ่ายในอัตราร้อยละ 1 ของยอดเงินกู้คงเหลือ เงื่อนไขอื่น ประกันชีวิตเพื่อประกันสินเชื่อ

  23. โครงการพัฒนาชีวิตข้าราชการพลเรือนโครงการพัฒนาชีวิตข้าราชการพลเรือน สมาชิกที่จะเข้าโครงการ …….. กลุ่มใหญ่ 50คน รวมตัวเป็นกลุ่มย่อย5-10คน ต้องออมสัจจะ3/ 6เดือนขึ้นไปสมุดสัจจะรายตัว ทำบัญชีรับ-จ่าย กลุ่มใหญ่ใหม่สมัครเป็นสมาชิกโครงการกับสาขาเปิดบัญชีเงินฝากของกลุ่มใหญ่ใหมประธาน/เหรัญญิก สมาชิกไป ธนาคารออมสิน เตรียมคำขอกู้–แบบฟอร์มธ.ออมสิน–เอกสารฯ ผู้ลงนาม–ประธานกลุ่มใหญ่- ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นหน่วยงานต้นสังกัด ส่งธ.ออมสินแจ้งหนังสือให้หน่วยจ่ายเงินเดือน สาขาดำเนินการให้กู้ตอบรับการหักเงินกู้ ผู้กู้ลงนามสัญญา/จดจำนองฯลฯแจ้งคณะกรรมการผ่านสิทธิทราบผล

  24. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ……… ฝ่ายสินเชื่อเพื่อสังคมและชุมชน งานสินเชื่อเพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ โทร. 0 2299 8000 ต่อ101011 – 3 โทรสาร0 2299 8589 E.Mail occ1.social@gsb.or.th occ2.social@gsb.or.th และ occ3.social@gsb.or.th ฝ่ายกิจการนครหลวง 1 โทร. 0 2299 8472- 3 0 2299 8183 ฝ่ายกิจการนครหลวง 2โทร.0 2258 6077 0 2662 7481 ฝ่ายกิจการนครหลวง 3โทร. 0 2951 1573- 6

  25. ขอขอบคุณ สวัสดี .. ค่ะ

  26. ลักษณะการรวมกลุ่ม 5 ก. ที่จะเกิด ประสิทธิภาพ การรวมตัวกัน โดยความสมัครใจ กลุ่มต้องมี สิ่งยึดปฏิบัติ กลุ่มชัดเจน ความซื่อสัตย์ กรรมการ • กลุ่มเข้มแข็ง • กลุ่มมีพลัง • กลุ่มมีการพัฒนา ความรับผิดชอบ กฎเกณฑ์หรือ ระเบียบข้อบังคับ ความสามัคคี กิจกรรม ความมีวินัย กองทุนสำรอง ความเห็นอกเห็นใจ ผลที่ได้รับ * การมีส่วนร่วม * ความสำเร็จ * ความสมปราถนา

  27. กิจกรรมพัฒนา กิจกรรมสร้างเสริม วินัยทางการเงิน กิจกรรมลดรายจ่าย กิจกรรมเพิ่มรายได้ 1. ลด ละ เลิก อบายมุข และสิ่งฟุ่มเฟือย 2. ดำรงตนแบบ เศรษฐกิจพอเพียง 3. ปรับโครงสร้างหนี้ 1. ประหยัดลดค่าใช้จ่าย 2. ทำอาชีพเสริม • 1. จัดทำแผนรายรับ- • รายจ่าย • 2. จัดให้มีการออม • อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม หรือกิจกรรมต่างๆซึ่งก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น

  28. เงื่อนไขการกู้เงิน วงเงินกู้ต่อราย 2 ล้านบาท หลักประกัน บุคคล (50 เท่าของเงินเดือน ไม่เกิน 7 แสนบาท) หลักทรัพย์ (สังหาริมทรัพย์ หรือ อสังหาริมทรัพย์) กรณีหลักทรัพย์ ให้ทายาทที่มีรายได้แน่นอนเป็นผู้กู้ร่วมได้ โดย ผู้กู้หลักมีอายุไม่เกิน 70 ปี ระยะเวลาส่งชำระบุคคล 10 ปี / หลักทรัพย์ 30 ปี รวมอายุผู้กู้ไม่เกิน 65 ปี อัตราดอกเบี้ย MLR เงินสนับสนุนพิเศษเป็นรางวัลให้กับกลุ่ม ออมดี ไม่มีหนี้ค้างชำระ ในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี เงื่อนไขอื่น ประกันชีวิตเพื่อประกันสินเชื่อ

More Related