1 / 11

ระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551

ระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551. ยกเลิก. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2525 (ฉ.2) ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2526 (ฉ.3) ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2531 (ฉ.4)

larue
Download Presentation

ระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551

  2. ยกเลิก • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2525 (ฉ.2) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2526 (ฉ.3) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2531 (ฉ.4) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2536 (ฉ.5) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2538 (ฉ.6) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2548 (ฉ.7) • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2520 • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2531 (ฉ.2) • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2543 (ฉ.3)

  3. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2551 กรณีส่วนราชการ มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติในระเบียบนี้ แบบพิมพ์ เอกสาร ทะเบียนคุม รายงาน การเบิก รับ จ่าย รักษา นำส่ง เป็นไปตามกำหนดของ กรมบัญชีกลาง ให้ กระทรวงการคลัง เป็นผู้วินิจฉัย อนุมัติจ่ายเงินให้เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ์รับเงินโดยการจ่ายตรง

  4. การขอเบิกเงินทุกกรณี • ให้ระบุวัตถุประสงค์ที่จะนำเงินไปจ่าย • ห้ามมิให้ขอเบิกเงินจนกว่าจะถึงกำหนด • เบิกเพื่อใช้จ่ายในการใดให้ใช้การนั้น ห้ามใช้เพื่อการอื่น • ส่วนราชการ จะต้องหักภาษีใดๆ ไว้ ณ ที่จ่าย และบันทึกภาษีเป็นรายได้แผ่นดินไว้ในคำขอเบิกเงิน เว้นแต่ ได้หักภาษีไว้แล้ว

  5. การจ่ายเงิน • จนท. ผู้จ่ายเงิน ต้องประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ลงชื่อรับรองการจ่าย ระบุชื่อผู้จ่ายเงินด้วยตัวบรรจง พร้อม ว.ด.ป. ที่จ่ายกำกับ • หลักฐานการจ่ายเงิน = ใบเสร็จรับเงิน / ใบสำคัญรับเงิน / ใบรับรองการจ่ายเงิน • การจ่ายเงินได้ทั้ง เช็ค / เงินสด / ผ่านธนาคาร • กรณีจ่ายวงเงินต่ำกว่า 5,000 บาท จะจ่ายเป็นเป็นเงินสดก็ได้

  6. การเบิกจ่ายเงินยืม • เงินยืม จ่ายได้แต่ผู้ที่ทำสัญญายืมเงิน และได้รับการอนุมัติให้ยืม • ห้ามอนุมัติให้ยืม หากผู้ยืมยังไม่ได้คืนเงินยืมเดิมให้เสร็จสิ้นไปก่อน • ผู้ยืมส่งหลักฐานการจ่าย/เงินยืมที่เหลือ ให้ จนท. บันทึกรับคืนในสัญญา พร้อม ออกใบเสร็จรับเงิน/ใบรับใบสำคัญ • ให้เก็บรักษาสัญญาที่ยังไม่คืน ไว้ในที่ปลอดภัย อย่าให้สูญหาย และเมื่อชำระคืนเงินยืมหมดแล้ว ให้เก็บรักษาเช่นเดียวกับหลักฐานการจ่าย

  7. ใบเสร็จรับเงิน • ให้พิมพ์ หมายเลขกำกับเล่ม และเลขที่ เรียงกันไปทุกฉบับ • ให้ทำทะเบียนคุม เพื่อให้ทราบ และตรวจสอบได้ • จัดพิมพ์จำนวนเท่าใด • จ่ายใบเสร็จฯ ไปเท่าใด • ให้ จนท. ผู้ใด จัดเก็บ • ใบเสร็จฯ หมดความจำเป็น ให้ส่งคืนโดยด่วน • สิ้นปี งปม. ให้รายงาน ใบเสร็จฯ ในความรับผิดชอบ • ขึ้น งปม.ใหม่ ให้ใช้เล่มใหม่ เล่มเดิมใช้ไม่หมด ให้ปรุ/เจาะ • ถ้ามี ใบเสร็จฯ ที่ยังไม่ใช้สูญหาย • แจ้งความ • ปิดประกาศ • แจ้งเวียนทั่วประเทศ

  8. การรับเงิน • การรับเงิน ให้ปฏิบัติตามที่ ก.การคลัง กำหนด • เงินสด เช็ค ดร๊าฟท์ ตราสารอื่น โดยวิธีอื่น • สิ้นเวลารับจ่าย ให้ จนท.จัดเก็บ นำเงิน+สำเนาใบเสร็จ ส่ง จนท.การเงินของส่วนราชการนั้น • สิ้นวัน ให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินกับหลักฐาน และรายการบันทึกในระบบ ที่ จนท.จัดเก็บรับและนำส่ง ว่าถูกต้องครบถ้วน? การเก็บรักษา • มีลูกกุญแจ อย่างน้อย 2 สำรับ (สำรับละ2ดอก) • 1 สำรับ ให้กรรมการเก็บรักษา • 1 สำรับ ฝากในราชการบริหารส่วนกลาง • ตู้นิรภัย

  9. การเก็บรักษา • ให้ หน.ส่วนราชการ แต่งตั้ง ขรก./พนง. ระดับ 3 ขึ้นไป อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการเก็บรักษาเงิน • ให้กรรมการ ถือลูกกุญแจ คนละ 1 ดอก (ถ้าลูกกุญแจหาย/ถูกปลอมแปลง ให้รีบรายงาน หน.ส่วนราชการ ทราบเพื่อสั่งการโดยด่วน • ห้ามกรรมการ มอบลูกกุญแจ ให้ผู้อื่นทำหน้าที่แทน • สิ้นเวลารับจ่าย ให้ จนท. ทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ทุกวัน • ให้ กรรมการ ตรวจสอบตัวเงิน เอกสารแทนตัวเงิน กับรายงานเงินคงเหลือประจำวัน และลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน • จนท. นำเงินเก็บในตู้นิรภัย

  10. การนำเงินส่งคลัง+ฝากคลังการนำเงินส่งคลัง+ฝากคลัง • ให้นำส่ง/นำฝาก ในวันที่ได้รับ หรืออย่างช้า ภายในวันทำการถัดไป • เงินรายได้แผ่นดิน ให้นำส่งอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่ถ้าส่วนราชการ มีเงินเก็บรักษาเกิน 10,000.- ให้นำส่งโดยด่วน ต้องไม่เกิน 3 วันทำการถัดไป • เงินนอก งปม. ให้นำฝากคลัง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่เงินที่เบิกจากคลังเพื่อรอจ่าย ให้นำฝากคลังภายใน 15 วันนับจากวันรับเงินจากคลัง

  11. ควบคุม + ตรวจสอบ • ทุกสิ้นวันทำการ ให้ จนท. ตรวจสอบจำนวนเงิน +เช็คคงเหลือ กับรายงานเงินคงเหลือประจำวัน • หาก เงินในความรับผิดชอบของส่วนราชการ • ขาดบัญชี สูญหาย เพราะการทุจริต / มีพฤติกรรมส่อในทางไม่สุจริต • ให้ หน.ส่วนราชการ รีบรายงาน กระทรวงเจ้าสังกัด ทราบโดยด่วน • และดำเนินการสอบสวนหาตัวผู้รับผิด

More Related