1 / 36

อุดมการณ์ - หลักการ - วิธีการสหกรณ์

อุดมการณ์ - หลักการ - วิธีการสหกรณ์. คำถาม สหกรณ์แห่งหนึ่งอาคารสำนักงานใหญ่ขึ้นทุกปี หนี้ของสมาชิกรายคนก็เพิ่มขึ้นทุกปี ถามว่า สหกรณ์แห่งนี้ประสบความสำเร็จหรือไม่ ในการเป็นสหกรณ์. ความหมายของสหกรณ์. ความหมายสหกรณ์ในพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 4.

Download Presentation

อุดมการณ์ - หลักการ - วิธีการสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุดมการณ์ - หลักการ - วิธีการสหกรณ์ คำถาม สหกรณ์แห่งหนึ่งอาคารสำนักงานใหญ่ขึ้นทุกปี หนี้ของสมาชิกรายคนก็เพิ่มขึ้นทุกปี ถามว่า สหกรณ์แห่งนี้ประสบความสำเร็จหรือไม่ ในการเป็นสหกรณ์

  2. ความหมายของสหกรณ์ ความหมายสหกรณ์ในพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 4 สหกรณ์ หมายความว่า คณะบุคคลซึ่งรวมกันดำเนิน กิจการเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้

  3. 1. อุดมการณ์สหกรณ์ 1.1 ช่วยเหลือตนเอง 1.2 ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

  4. 1.1 ช่วยเหลือตนเอง ขยัน ประหยัด พัฒนาตน หลีกพ้นอบายมุข ดำรงตนให้อยู่รอด เติบโต และเป็นเลิศท่ามกลางโลกปัจจุบันให้ได้

  5. 1.2 ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกทุกคนคือญาติของเรา รวมกลุ่มเกิดเป็นพลัง อำนาจ ทำงานเป็นทีม

  6. 1. สมัครใจ 3. การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก 2. ประชาธิปไตย 2. หลักการสหกรณ์ 7. การเอื้ออาทรต่อชุมชน 4. ปกครองตนเองและมีอิสระ 6. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ 5. การศึกษาอบรม ข้อมูล ข่าวสาร

  7. 3. วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ + หลักการ เพื่อให้สมาชิกดีขึ้น + = หลักนิติศาสตร์ + ฯลฯ

  8. สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นสหกรณ์ทางการเงิน ซึ่งจัดบริการเงิน ออมสมาชิกและให้สมาชิกกู้ยืมเงินเพื่อใช้ จ่ายในสิ่งจำเป็น และประโยชน์ต่อการ ครองชีพ รวมทั้งเพื่อการเสริมสร้าง ฐานะความเป็นอยู่ให้ก้าวหน้าและมั่นคง

  9. บุคคลในสหกรณ์ประกอบด้วยบุคคลในสหกรณ์ประกอบด้วย ผู้ตรวจสอบกิจการ คณะกรรมการดำเนินงาน บุคคลในสหกรณ์ประกอบด้วย สมาชิก ผู้แทนสมาชิก ต้องช่วยกันดำเนินกิจการสหกรณ์ให้เกิดประโยชน์แก่สมาชิกให้ได้

  10. การทำงานเป็นทีม 1. ทีมงาน มี 3 ระดับ 1.1 มีผู้นำให้นโยบาย (กรรมการ) 1.2 มีผู้แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ (ปธล.) ,พนักงาน 1.3 ผู้ปฏิบัติ (สมช.)

  11. เข้าใจอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ มีความรู้ความสามารถ 2. ผู้นำต้อง สร้างทายาทคนต่อไปได้ มีภาวะผู้นำ (ความสามารถในการโน้มน้าวให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม)

  12. 3. ระดับผู้เปลี่ยนแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ * เข้าใจสหกรณ์ * * มีภาวะผู้นำ * * ปรับตัวเก่ง รวดเร็ว ยืดหยุ่นได้ดี *

  13. 4. ผู้ปฏิบัติ เข้าใจสหกรณ์ รู้สึกเป็นเจ้าของ + = ผู้ปฏิบัติ

  14. ทั้ง 3 ระดับสำคัญเท่ากันหมด *** ต้องเข้าใจตรงกัน เพื่อร่วมกันสร้างสหกรณ์ให้เจริญ เป็นที่พึ่งของสมาชิกได้

  15. บทบาทของทางราชการ ในการกำกับตรวจสอบและส่งเสริมสหกรณ์

  16. ส่งเสริม ตรวจตรา อำนาจหน้าที่ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ จัดตั้ง กำกับแนะนำ

  17. ภารกิจหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ภารกิจหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ส่งเสริมและพัฒนาให้ * สมาชิกและประชาชนมีรายได้เพิ่ม * มั่นคง * ช่วยตนเองได้ * คุณภาพชีวิตดีขึ้น

  18. พรบ. สหกรณ์ พ.ศ.2542แบ่งออกได้เป็น 10 หมวด และ 1 บทเฉพาะกาล หมวดที่ 1 บททั่วไป หมวดที่ 2 การกำกับและส่งเสริมสหกรณ์ (การจัดตั้ง และจดทะเบียน ข้อบังคับและการแก้ไขเพิ่มเติม การดำเนินงานของสหกรณ์ การสอบบัญชี การเลิกสหกรณ์) หมวดที่ 3 สหกรณ์ หมวดที่ 4 การชำระบัญชี หมวดที่ 5 การควบสหกรณ์เข้าหากัน

  19. พรบ. สหกรณ์ พ.ศ.2542แบ่งออกได้เป็น 10 หมวด และ 1 บทเฉพาะกาล (ต่อ) หมวดที่ 6 การแยกสหกรณ์ หมวดที่ 7 ชุมนุมสหกรณ์ หมวดที่ 8 สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย หมวดที่ 9 กลุ่มเกษตรกร หมวดที่ 10 บทกำหนดโทษ บทเฉพาะกาล

  20. การกำกับ (ตรวจสอบ) และส่งเสริมสหกรณ์ มีบทบัญญัติ ไว้ในหมวด 2 มาตรา 9 - 32 ส่วนที่ 1 คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ ส่วนที่ 2 นายทะเบียนสหกรณ์ ส่วนที่ 3 การกำกับดูแลสหกรณ์ ส่วนที่ 4 กองทุนพัฒนาสหกรณ์

  21. บุคคลทางราชการที่มีหน้าที่กำกับและ ส่งเสริมสหกรณ์ ตรวจสอบสหกรณ์ นายทะเบียนสหกรณ์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์(ปัจจุบันเปลี่ยนป็นอธิบดีกรมส่งเริมสหกรณ์ ตามการปรับโครงสร้างใหม่) รองนายทะเบียนสหกรณ์ ขรก. สังกัดกระทรวงเกษตรฯ ซึ่งมีตำแหน่งไม่ต่ำกว่า ผอ.กอง หรือเทียบเท่า ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก นทส.ได้แก่ สกจ. เขตฯ บุคคลที่ นทส. แต่งตั้ง ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้สอบบัญชี

  22. วิธีการกำกับและตรวจสอบวิธีการกำกับและตรวจสอบ 1. การสั่งให้ระงับการดำเนินงานทั้งหมด หรือบางส่วน 2. ออกระเบียบ หรือคำสั่งเพื่อให้ปฏิบัติตาม พรบ.นี้ และเพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจการของสหกรณ์ 3. ให้สหกรณ์ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือให้ส่งเอกสาร หรือรายงานการประชุม ผู้ที่ต้องชี้แจง หรือส่งเอกสาร หรือรายงานการประชุม * คณะกรรมการดำเนินการ * ผู้ตรวจสอบกิจการ * ผู้จัดการ * สมาชิกสหกรณ์

  23. วิธีการกำกับและตรวจสอบ (ต่อ) 4. การเข้าไปตรวจสอบในสำนักงานของสหกรณ์ ในระหว่างเวลาทำงาน 5. ยับยั้งหรือเพิกถอนมติของที่ประชุมใหญ่ 6. สั่งให้คณะกรรมการ แก้ไขข้อบกพร่องหรือระงับการปฏิบัติบางส่วน หรือหยุดปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราว หรือให้พ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ หรือรายบุคคล 7. ตีความตามข้อบังคับ

  24. สมาชิกได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในเงินปันผล หรือ เงินเฉลี่ยคืน พระราชกฤษฎีกา ออกตามความใน ป.รัษฎากร ว่าด้วย การยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 40) พ.ศ. 2514 ม.3 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แก่ผู้มีเงินได้จาก การเป็นสมาชิกสหกรณ์เฉพาะส่วนเงินได้ที่เป็นเงิน ปันผล หรือเงินเฉลี่ยคืน

  25. การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับกิจการให้กู้ยืมเงินของสหกรณ์การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับกิจการให้กู้ยืมเงินของสหกรณ์ ป. รัษฎากร ม.91/3 ให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับกิจการดังต่อไปนี้ .....(3) กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์เฉพาะการให้กู้ยืมแก่สมาชิก หรือแก่สหกรณ์ออมทรัพย์อื่น

  26. ป.รัษฎากร ม.39 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามก.ม.ไทย หรือ ก.ม. ต่างประเทศ และรวมถึง 1. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางการค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาลต่างประเทศองค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตาม ก.ม.ต่างประเทศ 2. กิจการร่วมค้า ได้แก่ กิจการที่ดำเนินการร่วมกันเป็นทางการค้าหรือหากำไรระหว่างบริษัทกับบริษัทกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือระหว่างบริษัทและหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือนิติบุคคลอื่น

  27. สหกรณ์ออมทรัพย์ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสหกรณ์ออมทรัพย์ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ม. 77/1 (4) “นิติบุคคล” หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตาม ม.39 องค์การของรัฐบาลตาม ม.2 สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่ ก.ม. กำหนดให้เป็นนิติบุคคล ดบ. เงินกู้ที่ได้รับจากการให้สมาชิกหรือสหกรณ์อื่นกู้ เมื่อได้รับ ยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วสหกรณ์ไม่ต้องเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย หมายเหตุ : ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม เฉพาะแต่กิจการที่ได้รับ ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ

  28. ภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษีโรงเรือนและที่ดิน พรบ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475 แก้ไขเพิ่มเติม ม.3 โรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งเจ้าของอยู่เอง หรือให้ผู้แทนอยู่เผ้ารักษา และซึ่งมิได้ใช้เป็นที่ไว้สินค้า หรือประกอบการอุตสาหกรรม ให้งดเว้นไม่ต้องเสียภาษี โรงเรือนและที่ดิน สหกรณ์ให้ใช้อาคารสำนักงานเป็นสถานที่ประกอบกิจการของสหกรณ์ มิได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัย คือ กินอยู่นอนหลับอย่างบุคคลธรรมดาจะพึงกระทำ จึงไม่เข้าข่ายได้รับการยกเว้นให้ไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน

  29. ภาษีป้าย ป้ายของทางราชการ หรือองค์การของรัฐที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.2510 ม.8 (6) ป้ายของทางราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น (7) ป้ายขององค์การที่จัดตั้งขึ้นตาม ก.ม.ว่าด้วยการจัดตั้งองค์การ ของรัฐหรือตาม ก.ม. ว่าด้วยการด้วยการนั้น ๆ และหน่วยงาน ที่นำรายได้ส่งรัฐ สหกรณ์ ตั้งขึ้นตาม พรบ.สหกรณ์ เป็นหน่วยงานต่างหากจากรัฐบาล และมิได้เป็นหน่วยงานที่นำรายได้ส่งรัฐ จึงไม่ได้รับการยกเว้น ภาษีป้าย การคำนวณภาษีป้าย10 บาท ต่อ พ.ท. ป้าย 500 ตร.ซม.100 บาท ต่อ พ.ท. ป้าย 500 ตร.ซม.

  30. กฎกระทรวง การจ่ายเงินปันผลตามหุ้นที่ชำระแล้วของสหกรณ์แต่ละประเภทให้จ่ายได้ไม่เกินอัตราร้อยละ 10 ต่อ ปี ให้ไว้ ณ วันที่ 26 กันยายน 2543

  31. ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ ให้สหกรณ์ทุกประเภทกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินรับฝาก ทุกประเภท ได้ตามความเหมาะสมแต่ต้องไม่เกินอัตรา ร้อยละ 7 ต่อ ปี ให้ไว้ ณ วันที่ 26 กันยายน 2543

  32. การส่งสำเนารายงานการประชุมการส่งสำเนารายงานการประชุม ข้อ 1. ส่งสำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ให้สหกรณ์จังหวัดที่รับผิดชอบภายใน 15 วัน หลังการประชุมเสร็จสิ้น ข้อ 2. ส่งสำเนารายงานการประชุมใหญ่ให้สหกรณ์จังหวัด ผู้รับผิดชอบภายใน 45 วัน หลังการประชุมใหญ่ เสร็จสิ้น

  33. การส่งสำเนารายงานการประชุมการส่งสำเนารายงานการประชุม ข้อ 3. ผู้ตรวจการสหกรณ์ที่ได้รับมอบหมายจาก นทส. รอง นทส. ตรวจสอบรายงานการประชุม ตาม ข้อ 1 และ 2 ให้เสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่ ได้รับจากสหกรณ์และชุมนุม หากพบข้อบกพร่อง ให้แจ้งให้สหกรณ์ทราบภายใน 7 วันทำการ ให้ไว้ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2545

  34. ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสหกรณ์ออมทรัพย์ใน 3-5 ปี 1. ระบบ GFMIS- กรมบัญชีกลางโอนเงินให้ข้าราชการโดยตรง- - สมาชิกต้องส่งหุ้นและหนี้เอง 2. การขึ้นดอกเบี้ยของสถาบันการเงินอื่น ๆ สมาชิกจะซื่อสัตย์หรือไม่ สหกรณ์จะปรับตัวอย่างไร

  35. สุทัศน์ วงค์สัมพันธ์ชัยผู้ตรวจราชการเขตตรวจราชการที่ 10 12 13 และ 14 E-mail : Sutad@cpd.go.th Tel : 0 2628 5149

  36. สวัสดี

More Related