1 / 34

แนวทางการดำเนินงานของ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ประจำปี 2553

แนวทางการดำเนินงานของ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ประจำปี 2553. โดย ว่าที่ ร.ต.สมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์. ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องร้องเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

Download Presentation

แนวทางการดำเนินงานของ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ประจำปี 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานของ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนประจำปี 2553 โดย ว่าที่ ร.ต.สมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องร้องเรียนสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.)

  2. ผลการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนผลการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ปี 2552

  3. เป้าหมายและผลการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 2552 เป้าหมาย เป้าหมาย30,000 คน ศูนย์หลัก876 แห่ง ศูนย์โรงเรียน200 แห่ง เป้าหมาย10,000 คน ผลดำเนินการ40,912 คน ผลดำเนินการ875 แห่ง ผลดำเนินการ264 แห่ง ผลดำเนินการ16,061 คน

  4. งบการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 2552 ภาคเหนือ 17 จังหวัด/ 25,793,330 ล้านบาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเหนือ 19 จังหวัด/ 48,023,635 ล้านบาท ภาคกลาง 25 จังหวัด/ 23,380460 ล้านบาท รวม 75 จังหวัด113,583,625 ล้านบาท ภาคใต้ 14 จังหวัด/ 16,386,200 ล้านบาท

  5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณผลการเบิกจ่ายงบประมาณ

  6. ปัญหาและอุปสรรค • ด้านผู้เข้าร่วมโครงการฯ • - เกษตรกรยังขาดความรู้ทางการเกษตร • - เกษตรกรไม่ค่อยเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการฯ • - เกษตรกรยังไม่ได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์เท่าที่ควร • - เกษตรกรยังไม่สามารถรวบรวมผลผลิตไปเชื่อมตลาดได้ • - เกษตรกรไม่มีพื้นที่การผลิตเป็นของตนเอง

  7. ปัญหาและอุปสรรค (ต่อ) 2. ด้านกายภาพ - ศูนย์อยู่ห่างไกลชุมชน - ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ - โครงสร้างที่จำเป็นและพื้นที่ศูนย์ฯมีจำกัด - ขาดแหล่งน้ำ

  8. ปัญหาและอุปสรรค (ต่อ) 3. ด้านการบริหารจัดการ - ขาดผู้ดูแลหรือบริหารจัดการศูนย์ฯ - งบประมาณไม่เพียงพอ - ขาดสื่อเผยแพร่ความรู้ - การจัดสรรงบประมาณและการเบิกจ่ายงบประมาณล่าช้า - การจัดซื้อจัดจ้างล่าช้าไม่ถูกต้องตามระเบียบ - การจัดสรรรายได้ที่เกิดขึ้นยังไม่มีแนวทางที่ชัดเจน - การเชื่อมโยงตลาดขาดการบูรณาการกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

  9. แนวทางการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแนวทางการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ปี 2553

  10. เป้าหมายโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ปี 2553 ตั้งศูนย์เรียนรู้ฯ ศูนย์หลัก จำนวน 654 แห่ง/75 จังหวัดจำนวน 25,000 คน เป้าหมาย ตั้งศูนย์เรียนรู้ฯ ในโรงเรียน ตชด. จำนวน 200 แห่ง จำนวน 10,000 คน

  11. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 1. ให้คงศูนย์ฯที่มีคุณภาพดีไว้ และพัฒนาให้เป็นศูนย์ต้นแบบเพื่อขยายต่อไป 2. ควรปรับปรุงระบบการบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้เป็นองค์กรของเกษตรกร ที่เข้มแข็ง และสามารถพึ่งตนเองได้ 3. ควรส่งเสริม และสนับสนุนให้ศูนย์ฯมีขีดความสามารถในการดำเนินกิจกรรม ด้านการตลาด

  12. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 1. ในปีงบประมาณต่อไป เกษตรและสหกรณ์จังหวัดควรกำหนดแผนการ ปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินก่อนเริ่มปีงบประมาณ 2. ควรจัดทำฐานข้อมูลการเข้ารับการฝึกอบรมของเกษตรกร เพื่อลดความซ้ำซ้อน และกระจายความรู้แก่เกษตรกรอย่างทั่วถึง 3. การติดตามผลภายหลังการฝึกอบรม ว่ามีการนำความรู้ไปใช้หรือไม่ 4. การเพิ่มจำนวนศูนย์เรียนรู้ควรดำเนินการตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 5. เชื่อมโยงศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน กับศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน 6. ควรศึกษาวิจัยเพื่อวางแผนให้โครงการมีความยั่งยืน

  13. แนวทางการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 2553 1. กำหนดนโยบายที่ชัดเจนในการบูรณาการ การทำงานร่วมกันระหว่าง สำนัก งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับหน่วยงานอื่นๆภายใต้กระทรวงฯ และ ระดับกระทรวง 2. ประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจ รวมทั้งแนวทางการดำเนินโครงการศูนย์ เรียนรู้ฯ ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและผู้เข้าร่วมรับทราบอย่างละเอียดและต่อเนื่อง 3. บริการต่อยอดศูนย์เรียนรู้ฯที่มีศักยภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมินของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (3 ดาวขึ้นไป) หรือศูนย์ฯอื่นๆที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาต่อยอด เชื่อมกับตลาดได้ 4. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์เรียนรู้ฯอย่างเป็นทางการ เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ 5. พัฒนาความรู้และทักษะด้านการบริหารจัดการ ให้กับประธานและกรรมการของ ศูนย์เรียนรู้ฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน

  14. แนวทางการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 2553 (ต่อ) 6. พัฒนากลุ่มเกษตรกร ให้ดำเนินกิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้ เพื่อเป็นการสร้าง แรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำไปปฏิบัติเพื่อเชื่อมต่อกับตลาด 7. ให้ความรู้ทางด้านการตลาดการบรรจุหีบห่อ การรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิต และด้านการแปรรูปสินค้าเกษตรเพื่อให้เกิดความหลากหลายตามความต้องการ ของตลาด 8. วางแผนการผลิตเพื่อให้มีปริมาณตามความต้องการของตลาด 9. ตรวจสอบคุณภาพและรับรองผลผลิตให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย (Food Safety) โดยเน้นสนับสนุนผลผลิตที่เป็น เกษตรอินทรีย์เป็นหลัก

  15. แนวทางการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 2553 (ต่อ) 10. บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าให้ความ ช่วยเหลือและสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ฯอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและ พึ่งพาตนเองได้ 11. ศูนย์เรียนรู้ฯ ที่มีระดับความเข้มแข็งดีและดีที่สุด จะได้รับการรับรองผลการ ดำเนินงานในรูปแบบของการรับรองมาตรฐานสินค้า (Q) จาก มกอช. และ เกียรติบัตร จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  16. แผนภาพการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ฯแผนภาพการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ฯ เกษตรกร รวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิต พืช ตลาดชุมชน ประมง ศูนย์เรียนรู้ฯ ตลาด รวบรวมผลผลิต สัตว์ ตลาดนอกชุมชน ดิน ทำบัญชีครัวเรือน ผลผลิตที่เหลือนำมาแปรรูป คณะกรรมการ

  17. ขั้นตอนการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ฯขั้นตอนการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ฯ คัดเลือกพื้นที่และคัดเลือกเกษตรกร เกษตรกรที่เข้าอบรม เข้ารวมกลุ่มและประชุมจัดตั้งคณะกรรมการศูนย์ฯ เมื่อได้ผลผลิต เกษตรกรทุกกลุ่มต้องนำผลผลิตมารวมกันที่ศูนย์ฯ ศูนย์ฯจะติดต่อประสานงานกับตลาด เพื่อนำผลผลิตออกจำหน่าย ผลผลิตที่เหลือจากการจำหน่าย จะถูกนำกลับมาแปรรูปและนำออกจำหน่าย รายได้จากการจำหน่ายผลผลิตทั้งหมด จะถูกหักออก 30% เพื่อนำมาเป็นค่าใช้จ่ายในศูนย์ฯ ที่เหลืออีก 70% จะแบ่งให้เกษตรกร สำหรับเกษตรกรที่มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง จะไม่ถูกหัก 30%

  18. การคัดเลือกพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ฯการคัดเลือกพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ฯ 1. พัฒนาต่อยอดจากศูนย์ฯที่มีศักยภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ปี 2551 ในระดับ 3 ดาว ขึ้นไป (สป.กษ. จะมีหนังสือแจ้งพื้นที่ใน เบื้องต้นให้ทราบก่อน) 2. หรือคัดเลือกจากศูนย์เรียนรู้ฯ ที่ยังดำเนินกิจกรรมอยู่ แต่ยังไม่สามารถไปเชื่อมต่อ กับตลาดได้ 3. พื้นที่ที่คัดเลือก ศูนย์ฯละไม่เกินเนื้อที่ 20 ไร่

  19. การคัดเลือกเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการศูนย์เรียนรู้ฯการคัดเลือกเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการศูนย์เรียนรู้ฯ 1. พัฒนาต่อยอดจากเกษตรกรที่เคยอบรมจากศูนย์ฯหรือศูนย์ปราชญ์แล้ว และได้ นำความรู้ที่ได้รับจากศูนย์ฯ ไปดำเนินกิจกรรมต่อไปในพื้นที่ของตนเองหรือใน พื้นที่ของศูนย์ฯ (กรณีไม่มีที่ดินทำกิน และศูนย์ฯจะแบ่งพื้นที่ให้ดำเนินการ) เพื่อไว้บริโภคในครัวเรือนและเหลือจำหน่าย แต่ยังไม่สามารถเชื่อมต่อตลาดได้ 2. หรือคัดเลือกจากเกษตรกรที่ยากจนและมีความสนใจ ตั้งใจจริงที่จะประกอบอาชีพ ทางด้านเกษตรกรรมภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเชื่อมต่อตลาด 3. เกษตรกรและผู้ยากจนที่เป็นลูกหนี้ของกองทุนหมุนเวียนฯ และมีความประสงค์ จะพัฒนาฟื้นฟูอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้

  20. การคัดเลือกเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการศูนย์เรียนรู้ฯ (ต่อ) 4. เกษตรกรที่ประกอบเกษตรกรรมตามแนวทางทฤษฎีใหม่ แต่ยังไม่สามารถผลิต เพื่อไปเชื่อมตลาดได้ 5. เกษตรกรที่คัดเลือกเข้าร่วมโครงการศูนย์ละไม่เกิน 40 คน

  21. โครงสร้างคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯโครงสร้างคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ประธาน รองประธาน ที่ปรึกษาด้านพืช ที่ปรึกษาด้านสัตว์ ที่ปรึกษาด้านประมง ที่ปรึกษาด้านดิน เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาด ผู้เชี่ยวชาญด้านพืช ผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการประมง ผู้เชี่ยวชาญด้านการบำรุงดิน ผู้เชี่ยวชาญด้านการทำบัญชี สมาชิกกลุ่ม กองทุนของกลุ่ม

  22. การเชื่อมโยงตลาดของศูนย์เรียนรู้ฯการเชื่อมโยงตลาดของศูนย์เรียนรู้ฯ ศูนย์เรียนรู้ฯ ตลาดชุมชน ตลาดนอกชุมชน 1. ตลาดสด 1. โรงพยาบาล2. โรงเรียน 3. สถานพินิจฯ,ทัณฑสถาน4. ห้างสรพสินค้า5. ร้านอาหารต่างๆ ผลผลิตที่เหลือนำกลับมาแปรรูป

  23. ศจพ. กับการเชื่อมโยงองค์กรต่างๆ 1. ด้านการตลาดและสุขภาพ2. ด้านการผลิตอาหารปลอดภัย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมฯ 1. กลุ่มผู้สูงอายุ 1. ศูนย์เรียนรู้ในสถานศึกษา2. เชื่อมโยงชุมชนและครอบครัว กระทรวงศึกษาธิการ 1. กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน ในสถานพินิจ ศจพ. กระทรวงยุติธรรม มูลนิธิยุวเกษตรกรไทยใน พระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 1. โครงการ “สโมสรต้นกล้า เศรษฐกิจพอเพียง”2. โครงการยุวเกษตรกร 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด กระทรวงมหาดไทย 2. องค์การบริหารส่วนตำบล กระทรวงแรงงาน 1. ผู้ที่ถูกเลิกจ้าง 1. กลุ่มเกษตรกรผู้ร้องเรียน(MOB) อื่นๆ 2. กลุ่มลูกหนี้กองทุนหมุนเวียน

  24. บทบาทการเชื่อมโยง ศพช. กับ ศูนย์การเรียนรู้ของกรมในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ต่อ) ศูนย์การเรียนรู้การเกษตรพอเพียง กรมส่งเสริมการเกษตร (ด้านพืช) ศูนย์การเรียนรู้ กรมอื่นๆ ศูนย์การเรียนรู้ กรมปศุสัตว์ (ด้านปศุสัตว์) ศพช. - กรมวิชาการเกษตร- กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์การเรียนรู้ กรมประมง (ด้านประมง)

  25. งบประมาณศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 2553 (109.8 ล้านบาท)

  26. แผนปฏิบัติงาน

  27. แผนปฏิบัติงาน (ต่อ)

  28. วิทยากรและหลักสูตร 1. วิทยากร 1.1 จากกรมต่างๆ ของกระทรวงเกษตรฯ ตามกิจกรรมของกรมที่ร่วมบูรณาการในศูนย์เรียนรู้ฯ เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพัฒนาที่ดิน เป็นต้น 1.2 จากภาคเอกชน เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน เกษตรกรที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง

  29. 2. หลักสูตร (สป.กษ. จัดพิมพ์ให้)2.1 คู่มือโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 2.2 องค์ความรู้และภูมิปัญญาของปราชญ์ชาวบ้าน 2.3 สมุดบัญชีรับ-จ่ายในครัวเรือน 2.4 117 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก 2.5 โปสเตอร์แผนการผลิต 3. วีดีทัศน์เกี่ยวกัศูนย์เรียนรู้ฯ ที่ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ผ่านสื่อต่างๆ (CD, DVD) จำนวน 1 ชุด

  30. 4.การดำเนินงาน 4.3 หลักสูตร (สป.กษ. จัดพิมพ์ให้) 4.3.1 คู่มือโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 4.3.2 องค์ความรู้ และภูมิปัญญาของปราชญ์ชาวบ้าน 4.3.3 สมุดบัญชีรายรับ - จ่าย ในครัวเรือน 4.3.4 117 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก 4.4 วิสัยทัศน์ เกี่ยวกับศูนย์เรียนรู้ฯ ที่ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ผ่านสื่อต่างๆ และวีดีทัศน์เกี่ยวกับองค์ความรู้ประกอบอาชีพด้านการเกษตร (CD, DVD)

  31. ศูนย์เรียนรู้ในสถานศึกษา(โรงเรียน)ศูนย์เรียนรู้ในสถานศึกษา(โรงเรียน) 1. จะสนับสนุนศูนย์ฯในโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดนเป็นหลัก จำนวน 200 ร.ร. สป.กษ. จะแจ้งรายชื่อโรงเรียนให้ ก.ษ. จังหวัดไปประสานตามพื้นที่ เพื่อขอ สนับสนุนงบประมาณ 2. จะจัดสรรงบประมาณในโรงเรียนละ 30,000 บาท 2.1 ค่าอำนวยการ 5,000 บาท 2.2 ค่าพัฒนาแปลง 10,000 บาท 2.3 ค่าปัจจัยการผลิต 15,000 บาท

  32. ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส

  33. ขอบคุณ สวัสดี ศจพ.กษ. mobile:081 583 5997, 081 831 4773tel:0 2280 7750, 0 2280 7753fax:0 2281 5836, 0 2282 2064e-mail address:poverty_moac@yahoo.comwebsite: www.moac.go.th/ccpm

More Related