1 / 59

Microcredit Financing

Microcredit Financing. What is Microcredit Impacts of Microcredit Case Study : Grameen Credit Microcredit in Thailand. By …. นางสาวแพรไพลิน ยอดนิล 4345570229 นางสาวศรีสุภา วรรณสุศรี 4345600429 นางสาวศศินทุ์ บุญจิตราดุลย์ 4345601029 นางสาวศศินันท์ กุลทรัพย์ตระกูล 4345602729.

shada
Download Presentation

Microcredit Financing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Microcredit Financing What is Microcredit Impacts of Microcredit Case Study : Grameen Credit Microcredit in Thailand

  2. By… • นางสาวแพรไพลิน ยอดนิล 4345570229 • นางสาวศรีสุภา วรรณสุศรี 4345600429 • นางสาวศศินทุ์ บุญจิตราดุลย์ 4345601029 • นางสาวศศินันท์ กุลทรัพย์ตระกูล 4345602729

  3. Overview… • Conventional Banking Systems • Asymmetric Information between lenders and borrowers • Loans need collateral • No asset, No credit • No land, No loan • Poor people can not access to financial services.

  4. What is Microcredit

  5. What is Microcredit… • Microcredit, also known as microfinance, means programmes extended small loans or wider range of financial services to poor people to foster self-employment and income generations and improve their living standards.

  6. What is Microcredit… • The loans largely go to rural landless, disadvantage women and low wage labour. • Definitions maybe differ from country to country. • Bangladesh can be considered birth place of the current concept of Microfinance. • Terms and conditions for microcredit are flexible and easy to understand, and suited to the local conditions of the community.

  7. Main features of microcredit… • Microcredit generally involves the following features: • Small loans, for both working capital and assets • Collateral free, substituted by group guarantee or compensatory savings • Access to repeat and larger loans • Intensive supervision and close monitoring • Secure saving products • Loan period generally for one year, may go up to 3 years • Options available for weekly/monthly installment payment • Can combine social development with financial intermediation

  8. Three C’s of Credit… • Character: means how a person has handled past debt obligations. • Capacity: means how much debt a borrower can comfortably handle. • Capital: means current available assets of the borrower.

  9. Traditional informal microcredit Microcredit based on traditional informal groups Activity-based microcredit through conventional or specialized banks Rural credit through specialized banks Cooperative microcredit Consumer microcredit Bank-NGO partnership based microcredit Grameencredit Other types of NGO microcredit Other types of non-NGO non-collateralized microcredit Classification of microcredit…

  10. Microfinance-credit lending models… • Microfinance institutions are using various Credit lending Models: • Associations • Bank Guarantees • Community Banking • Cooperatives • Credit Unions • Grameen • Group

  11. Microfinance-credit lending models… • Microfinance institutions are using various Credit lending Models: • Individual • Intermediatories • NGOs • Peer Pressure • Rotating Savings and Credit Associations (ROSCAs) • Small Business • Village Banking

  12. Impacts of Microcredit

  13. Impacts of Microcredit • Economic Impacts • Impact on poverty • Impact on Reducing vulnerability • Social Impacts • Emancipating women • Influence on society

  14. Economic Impacts • Impact on poverty • Impact on income and consumption: There are different ways to measure impacts of microcredit on income and consumption. In all cases, income and consumption is increased which reduce poverty of the member. • “before-after”-situation • member perception • uses income and consumption as dependent variable

  15. Economic Impacts • Impact on poverty • Impact on employment and productivity Micro-credit programs have been successful in expanding self-employment, giving higher wage, and raising productivity which is in turn reduce poverty of the members.

  16. Economic Impacts • Impact on Reducing Vulnerability • pattern of consumption is smoothed • a greater stability of labour supply • non-agricultural activities reduce vulnerability of the families • reduce vulnerability during crisis • increase members’ net worth

  17. Social Impacts • Emancipating women: an explanation • women are not supposed to have any income, independent of their husbands • education for girls is considered as unnecessary • woman is confronted with poverty than men • can’t take part in household decision-making

  18. Social Impacts • Emancipating women • Involvement in Family Decisions • a larger involvement of women in family decisions (wife is now seen rather as a source of income than burden) • Women’s Exposure to Violence • micro-credit members are better treated by their husband

  19. Social Impacts • Emancipating women • Stronger awareness in an expanding world • Increased Mobility • Expanding Knowledge and Awareness in a New world • Emancipation of Women and Fertility

  20. Social Impacts • Influence on Society • effects on non-member villagers • better practices of health, sanitation and family planning • a decline in the rate of interest • raises the wage rate • in confrontation with existing systems

  21. Challenges in Microcredit • Inadequate credit fund and growing demand of credit • Sustainability of microfinance programmes • Governance and transparency • Wider impact

  22. Case Study : Grameen Credit

  23. Grameen Bank • โครงการธนาคารหมู่บ้านถูกจัดตั้งขึ้นในปี 2519 โดย ศาสตราจารย์ ดร. Muhammad Yunus เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปล่อย สินเชื่อแก่ผู้ด้อยโอกาสในชนบท โดยที่ผู้กู้ไม่ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ • วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งโครงการ 1.เพื่อให้บริการด้านการธนาคารแก่ผู้ด้อยโอกาสทั้งชายและหญิง 2. เพื่อขจัดการเอารัดเอาเปรียบจากนายทุนผู้ออกเงินกู้ 3. เพื่อให้บุคคลที่ไม่เคยนำแรงงานที่มีอยู่ มีโอกาสประกอบกิจการที่เป็นของตนเอง 4. เพื่อนำผู้ด้อยโอกาสเข้าสู่รูปแบบขององค์การที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นระบบ สามารถเข้าใจ สามารถดำเนินการและสามารถเข้าใจถึงศักยภาพในทางสังคม การเมืองและเศรษฐกิจด้วยการร่วมมือสนับสนุนซึ่งกันและกัน 5. เพื่อลบล้างวงจรเก่า

  24. วงจรเก่า - วงจรใหม่

  25. ดำเนินงานของ GB • 1.) การขยายสำนักงานสาขา –GB ให้ความสำคัญและมุ่งเน้นการปฏิบัติงานในระดับล่าง สาขาที่มีอยู่เป็นตัวจักรสำคัญในการดำเนินการของธนาคาร โดยได้กำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับทำเลที่ตั้ง คือ ใกล้ตลาด มีธนาคารพาณิชย์บริเวณใกล้เคียง มีครอบครัวที่ยาจนอยู่ในบริเวณไม่ต่ำกว่า 2,000 ครอบครัว และตั้งอยู่ห่างจากสำนักงานเขตในรัศมี 15 กิโลเมตร • 2.) สำนักงานสาขามีภารกิจหลักอยู่ 5 ประการ คือ 2.1) การจัดตั้งกลุ่ม – ในกลุ่มจะมีสมาชิก 5 คน เป็นเพศเดียวกันและไม่เป็นญาติกัน สมาชิกไม่ได้เป็นลูกหนี้ของธนาคารอื่นและมีที่ดินไม่เกิน 0.5 เอเคอร์ หรือมีสินทรัพย์ ไม่เกินมูลค่าที่ดินจำนวนดังกล่าว 2.2) การควบคุมดูแลศูนย์สมาชิก 2.3) การปล่อยสินเชื่อ 2.4) การรับชำระคืนเงินกู้ 2.5) การรับฝากเงิน

  26. Sixteen Decisions นอกจาก GB จะใช้สินเชื่อเป็นกลไกในการเสริมรายได้แล้ว GB ยังมีการส่งเสริมการสร้างวินัยในหมู่สมาชิก โดยสมาชิกแต่ละคนต้องปฏิบัติตามบัญญัติ 16 ประการ ดังนี้ 1.) เราจะทำงานและยึดมั่นในหลักการ 4 ข้อของ GB คือ “ มีวินัย มีความสามัคคี มีความเด็ดเดี่ยว และ สู้งานหนัก” 2.) เราจะนำความรุ่งโรจน์มาสู่ครอบครัว 3.) เราจะไม่อาศัยอยู่ในบ้านที่ทรุดโทรม 4.) เราจะปลูกพืชผักตลอดปี เพื่อบริโภคและนำส่วนเกินไปจำหน่าย 5.) เราจะหว่านเมล็ดพันธุ์พืชให้มากที่สุดในระหว่างฤดูเพาะปลูก 6.) เราจะมีครอบรัวขนาดเล็กและจะดูแลสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง 7.) เราจะให้การศึกษาแก่เด็ก 8.) เราจะดูแลเด็กและรักษาสิ่งแวดล้อม

  27. Sixteen Decisions (ต่อ) 9.) เราจะสร้างและส้วมซึม 10.) เราจะดื่มน้ำบาดาล น้ำต้ม หรือน้ำใส่สารส้ม 11.) เราจะไม่เก็บเงินสินสอด และไม่ยอมให้มีการแต่งงานระหว่างผู้เยาว์ 12.)เราจะไม่ก่อให้เกิดความอยุติธรรมแก่ผู้ใด 13.) จะเราจะค่อยๆขยายการลงทุนในกิจการต่างๆ เพื่อรายได้ที่เพิ่มขึ้น 14.) เราจะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ 15.) เราจะช่วยฟื้นฟูศูนย์ที่มีการละเลยเรื่องวินัย 16.) เราแนะนำการออกกำลังกายรวมไปถึงการร่วมทำกิจกรรมทางสังคม

  28. การปล่อยสินเชื่อ ผู้กู้สามารถนำเงินไปลงทุนในธุรกิจต่างๆรวม 8 ประเภท ได้แก่ 1.) การผลิตและการอุตสาหกรรม 2.) การเกษตรกรรมและป่าไม้ 3.) การปศุสัตว์และการประมง 4.) การบริการ 5.) การค้าขาย 6.) หาบเร่แผงลอย 7.) การเปิดร้านขายของ 8.) การลงทุนเพื่อประกอบกิจการต่างๆ

  29. ปัจจัยที่ทำให้ GB ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน 1.) GB ถือว่าการได้รับสินเชื่อเป็นสิทธิของมนุษยชน และเป็นกลไกที่เปิดโอกาสให้ปัจเจกชนได้ฟื้นฟูสภาพเศรษฐกิจของตน 2.) GB มีวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายการปล่อยสินเชื่อที่ชัดเจน คือ ปล่อยสินเชื่อให้กู้ด้อยโอกาส ซึ่งมีฐานะยากจน 3.) ระบบการใช้สินเชื่อที่ให้บริการ เช่น แบบการบริการทางการเงินกรณีพิเศษ ได้แก่ วงเงินอนุมัติไม่สูงมาก มีการฝากเงินไว้ในบัญชีออมทรัพย์ของกลุ่มไว้สำรองใช้จ่ายยามฉุกเฉิน เป็นต้น 4.) ส่งเสริมให้สมาชิกออมเงิน เพื่อใช้จ่ายและลงทุนในอนาคต 5.) มีกระบวนการคัดเลือกและฝึกอบรมพนักงานที่มีประสิทธิภาพ 6.) กระจายอำนาจการบริหารจากส่วนกลางไปยังสู่ภูมิภาค เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ง่าย 7.) มีการสร้างระบบควบคุมและติดตามการปล่อยสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 8.) บังคลาเทศเป็นประเทศที่มีสภาพทางภูมิศาสตร์อำนวย ทำให้สมาชิกมีรายได้ตลอดปีจากการปลูกพืชหมุนเวียน 9.) GB ไม่สร้างความผูกพันกับรัฐบาล หรือนักการเมือง ทำให้มีอิสระในการดำเนินงาน

  30. การนำรูปแบบของ GB ไปใช้ในประเทศต่างๆ มีหน่วยงานจากหลายประเทศได้นำรูปแบบการปล่อยสินเชื่อของ GB ไปทดลองใช้ ปรากฏว่าส่วนใหญ่ประสบความสำเร็จ โดยมีอัตราการชำระหนี้คืนถึงร้อยละ 99-100 ตัวอย่างของหน่วยงานที่นำไปใช้ได้แก่ - มาเลเซีย ซึ่งจัดทำโครงการภายใต้ชื่อ Projek Ikhtiar - สหรัฐอเมริกา มีโครงการชื่อ Good Faith Fund นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมการจัดทำโครงการตามรูปแบบของ GB ประชาคมโลก GB จึงได้จัดตั้ง Grameen Trust เพื่อส่งเสริมการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ฝึกอบรมสัมมนา จัดหาทุน และเป็นศูนย์ประสานงานกับองค์กรต่างๆทั้งในและต่างประเทศ

  31. Microcredit Financing in Thailand

  32. พัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยพัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • ในช่วงแรกเป็นการดำเนินงานในรูปขององค์กรการเงินที่ประชาชนเป็นผู้ดำเนินการเอง ซึ่งจัดตั้งครั้งแรกในปี 2508 โดยมีการก่อตั้งกองทุนหมู่บ้านในชนบท และจัดตั้งกลุ่มเครดิตยูเนี่ยนในเขตชุมชนเมือง จากนั้นขบวนการเครดิตยูเนี่ยนก็ได้เพิ่มขึ้นทั้งในชนบทและชุมชนเมือง โดยส่วนหนึ่งเริ่มจากฐานวงศ์สัมพันธ์ของสมาชิกโบสถ์คริสต์แล้วขยายไปสู่ชุมชนประเภทอื่นๆ

  33. พัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยพัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • ในช่วงปี 2517 ได้เริ่มมีการส่งเสริมจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งการกระจายตัวและเติบโตในช่วงแรกมีไม่มากนัก ในช่วงใกล้เคียงกันก็ได้มีองค์กรการเงินในรูปแบบต่างๆที่เป็นการริเริ่มของชาวบ้านเอง บางส่วนก็ปรับจากรูปแบบกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มเหล่านี้ส่วนใหญ่ตั้ง โดยปราชญ์ชาวบ้านที่ต้องการพัฒนาชุมชนตนเองให้สามารถพึ่งตนเองได้

  34. พัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยพัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • ในช่วงตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา องค์กรการเงินรูปแบบต่างๆของ ชุมชนได้ขยายตัวค่อนข้างรวดเร็ว ชุมชนเมืองได้เกิดกลุ่ม ออมทรัพย์จากการส่งเสริมขององค์การนานาชาติ และองค์กรพัฒนา เอกชนอีกบางส่วน ส่วนในชนบทก็มีองค์กรพัฒนาเอกชนที่ ส่งเสริมเรื่องกลุ่มออมทรัพย์ ควบคู่ไปกับกิจกรรมพัฒนาด้านอื่นๆ • ในช่วงเดียวกัน (ปี 2532) ธนาคารหมู่บ้านก็ได้เริ่มขึ้น โดยการ ส่งเสริมของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเริ่มจากโครงการอีสานเขียวแล้วกระจายไปสู่พื้นที่อื่นๆทุกภาค

  35. พัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยพัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ขบวนการองค์กรการเงินชุมชนได้มีการขยายตัวและเติบโตค่อนข้างรวดเร็ว ตลอดจนได้มีรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึ้น ได้แก่ กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ ซึ่งริเริ่มโดยพระสงฆ์ นักปราชญ์ กลุ่มออมทรัพย์รายวันในชุมชนเมือง ซึ่งปรับรูปแบบให้ สอดคล้องกับอาชีพรายได้ของชาวชุมชนเมือง นอกจากนี้องค์กรการเงินประเภทต่างๆได้มีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย ขยายกิจกรรมพัฒนาไปสู่ด้านอื่นๆ เช่น ที่อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อม ฯลฯ • นอกจากนี้ยังมีองค์กรการเงินที่เป็นนิติบุคคลในรูปสหกรณ์ ประเภทต่างๆ เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์

  36. พัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยพัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • ในส่วนของสถาบันการเงินของภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการให้สินเชื่อ ผู้ที่มีรายได้น้อยมี 3 สถาบัน คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ธนาคารออมสิน และ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ได้มีการพัฒนาโครงการต่างๆ เพื่อกระจายการปล่อยสินเชื่อแก่องค์กรหรือบุคคลที่มีรายได้น้อย เพิ่มมากขึ้นตลอดเวลาที่ผ่านมา เช่น โครงการธนาคารประชาชน ของธนาคารออมสิน เป็นต้น

  37. พัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยพัฒนาการของระบบการเงินผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • นอกจากนั้นแล้ว ในช่วงหลังภาครัฐยังได้มีหน่วยงานที่จัดตั้งเป็นสถาบันการเงินเฉพาะ ได้แก่ บรรษัทอุตสาหกรรมขนาดย่อม บรรษัทค้ำประกันสินเชื่อขนาดย่อม(บสย.) อีกทั้งจัดตั้งเป็นองค์การมหาชน คือ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช. ) ในช่วงปลายปี 2542 ซึ่งมีภารกิจด้านการพัฒนาองค์กรชุมชน ส่งเสริมการ ออมทรัพย์และสินเชื่อสำหรับองค์กร

  38. รูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยรูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย • เป็นการแบ่งตามลักษณะของการดำเนินการ เกณฑ์ในการจัดแบ่งได้แก่ เจ้าของ ผู้ดำเนินการ วัตถุประสงค์ ซึ่งสามารถจัดกลุ่มการเงินรายย่อยได้ดังนี้ 1. เป็นของรัฐ ดำเนินงานโดยรัฐ เพื่อประชาชน (Of the government , by the government , for the people) ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) ธนาคารออมสิน และ ธนาคารอาคารสงเคราะห์(ธอส.)

  39. รูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยรูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย 2. เป็นของรัฐ ดำเนินการโดยหน่วยงานเฉพาะ เพื่อประชาชน (Of the government , by the professionals , for the people) ได้แก่ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน บรรษัทอุตสาหกรรมขนาดย่อม บรรษัทค้ำประกันสินเชื่อขนาดย่อม(บสย.) 3. เป็นของรัฐ บริหารโดยประชาชน เพื่อประชาชน (Of the government , by the people , for the people) ได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน และ ชุมชนเมือง

  40. รูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยรูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย 4. เป็นของสถาบันเฉพาะ บริหารโดยมืออาชีพ เพื่อประชาชน (Of the professionals , by the professionals , for the people) ได้แก่ สมาคมพัฒนาประชากร และ ชุมชน(PDA) บรรษัทพัฒนาธุรกิรขนาดย่อม จำกัด (SED) บรรษัทร่วมทุนชนบท จำกัด 5. เป็นของประชาชน บริหารโดยมืออาชีพ เพื่อประชาชน (Of the people, by the professionals , for the people) ได้แก่ นายทุนเงินกู้นอกระบบ

  41. รูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทยรูปแบบการเงินของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย 6. เป็นของประชาชน บริหารโดยประชาชน เพื่อประชาชน (Of the people , by the people , for the people) ได้แก่ กลุ่มออมทรัพย์ต่างๆ ธนาคารหมู่บ้าน สหกรณ์ต่างๆ กลุ่มเครดิตยูเนี่ยน

  42. แหล่งที่มาของเงินทุนของการเงินผู้มีรายได้น้อยแหล่งที่มาของเงินทุนของการเงินผู้มีรายได้น้อย • เงินออมของประชาชน หรือ สมาชิก • ธนาคารเพื่อการเกษตร และ สหกรณ์การเกษตร • งบประมาณภาครัฐ • องค์การนานาชาติ

  43. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน • ที่มาของการจัดตั้ง ปัญหาต่างๆที่ชาวบ้านในชนบทประสบ ได้แก่ ความยากจน หนี้สิน ดอกเบี้ยแพง พ่อค้าคนกลางเอาเปรียบ ต้นทุนในการผลิตสูง ราคาผลผลิตตกต่ำ แรงงานอพยพสู่เมืองหลวง โสเภณีเด็ก ภัยจากธรรมชาติ ก่อให้เกิดการรวมกลุ่มอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหา เช่น กลุ่มแม่บ้านกระดาษสา กลุ่มขนม กลุ่มอาชีพเหล่านี้ได้พัฒนามาจัดตั้งเป็นธนาคารหมู่บ้าน (ดังแผนภาพ)

  44. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน

  45. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน • วัตถุประสงค์ของธนาคาร 1. เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจให้แก่ประชาชนในพื้นที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการเก็บออม 3. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันของสมาชิกใน หมู่บ้าน 4. เพื่อพัฒนาอาชีพ และ หมู่บ้านให้สามารถพึ่งตนเองได้

  46. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน • กิจกรรมของธนาคาร กิจกรรมของธนาคารหมู่บ้านประกอบไปด้วย 5 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมการระดมเงินทุนค่าหุ้น 2. กิจกรรมบริการรับฝาก-ถอนเงิน 3. กิจกรรมบริการให้กู้ยืมเงิน 4. กิจกรรมการร่วมลงทุนธุรกิจ 5. กิจกรรมสวัสดิการประกันสุขภาพ

  47. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน • หลักการดำเนินงานของธนาคารหมู่บ้าน พิจารณา 3M’s หรือ 3 ปัจจัย คือ 1. คน (Man) ธนาคารเน้นการเตรียมคนตามข้อคิด ดังนี้ • จะปลูกพืชก็ต้องเตรียมดิน • การพัฒนาคนให้มีคุณธรรม • การพัฒนาคนที่มีคุณภาพ ให้เก่ง 4 ข้อ

  48. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน 2. เงิน (Money) ธนาคารจะต้องมีวิธีเงินกองทุนจำนวนมากพอแก่การดำเนิน กิจกรรม โดยไม่จำเป็นต้องไปกู้จากแหล่งภายนอก ถ้าจำเป็นก็หากู้จากแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ควรให้เงินทุนระหว่างธนาคารหมู่บ้านกับเงินทุนร้านค้าในหมู่บ้านหมุนเวียนกันเองมากที่สุด ในส่วนของการปล่อยเงินกู้ก็มีกฎระเบียบที่ชัดเจน แน่นอน อีกทั้งเป็นการปล่อยกู้ภายในหมู่บ้านซึ่งรู้จักกันดี ทำให้ปัญหา Asymmetric Information หมดไป

  49. ตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้านตัวอย่างการบริหารจัดการธนาคารหมู่บ้าน 3. การจัดการ (Management) ใช้กลยุทธ “บวร” คือ การเข้าถึงสถาบันสังคมของชาวบ้าน ที่ชาวบ้านให้ความเคารพเชื่อถือศรัทธาอยู่ก่อนนานแล้ว ในการสามารถชี้ชวนชาวบ้านรวมกลุ่มกิจกรรมธนาคารหมู่บ้านได้ง่าย สะดวกรวดเร็วและพร้อมเพรียงกันมากที่สุด บ คือ ผู้นำของชาวบ้าน ว คือ พระสงฆ์ ร คือ ครู โรงเรียนในหมู่บ้านนั้น

More Related