1 / 62

ศาสตร์ของการออกกำลังกาย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพ

ศาสตร์ของการออกกำลังกาย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพ. รศ.ดร.ประทุม ม่วงมี , Ph.D. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน จ.ชลบุรี E-mail: pratoom@buu.ac.th Website: http://staff.buu.ac.th/~pratoom. ความจำเป็นที่ต้องมีการออกกำลังกายในยุคปัจจุบัน.

tuyet
Download Presentation

ศาสตร์ของการออกกำลังกาย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศาสตร์ของการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพศาสตร์ของการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพ รศ.ดร.ประทุม ม่วงมี,Ph.D. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน จ.ชลบุรี E-mail: pratoom@buu.ac.th Website: http://staff.buu.ac.th/~pratoom

  2. ความจำเป็นที่ต้องมีการออกกำลังกายในยุคปัจจุบันความจำเป็นที่ต้องมีการออกกำลังกายในยุคปัจจุบัน ยุคของเครื่องจักร เครื่องยนต์ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อิเลคโทรนิคส์ เพื่อการดำเนินชีวิต การทำงาน การเดินทาง การสื่อสาร ชีวิตมีความสะดวกสบาย ลีลาชีวิตเปลี่ยนไป AGE OF AUTOMATION. ใช้แรง / กำลังจากกล้ามเนื้อน้อยลง ถือเป็นการฝืนธรรมชาติ ร่างกายมนุษย์ถูกออกแบบมาเพื่อให้อยู่ได้ + อยู่ดี ด้วยการเคลื่อนไหว / ออกแรงอย่างพอเพียง

  3. CHANGE IN ATTITUDE • ต้องใช้แรง ต้องเหงื่อออก ต้องเหนื่อย ไม่ดี ดี • บาดเจ็บ + เป็นอันตราย สิ่งที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งที่พึง กระทำกับตัวเรา • Observation / Research ทาง Med. Sci. + Sport Sci. ช่วยบอกเรื่องราว ชี้ให้เห็นทั้งผลดีต่อสุขภาพของการออกกำลังกายและผลเสียต่อสุขภาพของการไม่ออกกำลังกาย เครดิตภาพ: Parnwell ,1988 เครดิตภาพ: สสส. เครดิตภาพ:McArdle & Katch

  4. - THE NEGATIVE SIDE - • The White House Story • The European Studies • เรื่องราวไทย ไทย • Hypokinetic Diseases ก่อให้เกิดความห่วงใย เกี่ยวกับ Well Being + Physical Fitness (WELLNESS) ของคนในยุคใหม่

  5. THE WHITE HOUSE STORY 1. U.S.A. : ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกือบครึ่งหนึ่งของชายฉกรรจ์ในวัยเกณฑ์ทหารมีสมรรถภาพทางกายต่ำ (Olson, 1968) 2. U.S.A. : 60’s - ประธานาธิบดี John F. Kennedy ได้รับรายงานว่าเด็กชาวอเมริกันทำคะแนนต่ำจากการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกันในหลายประเทศ : จัดตั้ง President Council For Physical Fitness ขึ้น

  6. The European Studies Armstrong & Welsman, 1997

  7. The European Studies (Cont.) Armstrong & Welsman, 1997

  8. เรื่องราวไทย ไทย * 53.5% ของประชากรที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไปทั่วประเทศ ไม่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา (กกท., 2538) * มีคนไทยเพียง 3 ใน 10 คน (อายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป) ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ (สสส., 2546) * กลุ่มประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปเพียงประมาณ 24% ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ (สสส., 2546)

  9. เรื่องราวไทย ไทย (ต่อ) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล & สสส., 2546

  10. จากข้อมูลที่สะสมมาเป็นเวลานานทำให้เกิดเป็นทฤษฎีว่า การขาดการออกกำลังกายมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคหลายชนิดที่กำลังคุกคามคนในสังคมที่ขาดการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม โรคดังกล่าว เรียกว่า “HYPOKINETIC DISEASES”

  11. EX EX EX EX EX EX EX EX Hypokinetic Diseases โรคหัวใจ - - - - - ชราเร็ว - - - โรคอ้วน - - - - - โรคข้ออักเสบ - - - โรคไขมันในเลือดสูง - - - - - โรคความดัน - - - ความเครียด/โรคจิต - - - - - อาการผิดปกติอื่นๆ - - -

  12. - THE POSITIVE SIDE - • ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของร่างกาย • ชะลอการเริ่มเกิด ภาวะไขมันสะสมที่หลอดเลือด (ถ้ามีการสะสม) Spinghouse,2002

  13. บำรุงรักษาอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายให้ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จะวัดค่าสิ่งใด (เช่น ภาพลักษณ์ของเลือด -Blood Profile อัตราชีพจร อัตราการหายใจ ฯลฯ) หรือจะทดสอบสิ่งใด (เช่น สมรรถภาพทางกาย –Physical Fitness) ก็จะดีไปหมด

  14. เมื่อต้องเกิดโรค ช่วยให้หนักเป็นเบา การมีร่างกายดี • ยังช่วยในกระบวนการฟื้นตัวกลับภายหลังเกิดการ บาดเจ็บหรือเกิดโรคภัยต่าง ๆ

  15. สรุป: ทำไมเราจึงควรฝึกออกกำลังกาย • จำเป็น • ราคาถูก • ใช้ง่าย • ได้ผลดี – Effective • มีผลข้างเคียงน้อยหรือไม่มี

  16. เป้าหมายของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป้าหมายของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ • เพื่อให้มี “สุขภาพ” ดี • เพื่อให้มี “สมรรถภาพ”ทั่วไปดี ไว้ต่อสู้กับสิ่งคุกคาม ของชีวิต สมรรถนะสูงสุด(Peak) ใจ โภชนาการ การใช้ยา+ สารเคมี ฯลฯ ทักษะ+ยุทธวิธี สมรรถภาพเฉพาะกีฬา สมรรถภาพทั่วไป สุขภาพ คนทั่วไป นักกีฬา

  17. สุขภาพดี (Good health/Well-being) การมีร่างกาย + จิตใจที่ค่อนข้าง “ปลอด” จากปัญหาทางสุขภาพ - อยู่ได้

  18. สมรรถภาพทั่วไปดี (Good General Fitness) “คุณสมบัติของร่างกายที่คนมีอยู่ (รวมถึงโครงสร้างส่วนประกอบ และความแข็งแกร่งของกระดูก) ที่ทำให้ร่างกายสามารถทำหน้าที่/ทำงานทางกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ” (ACSM;2006) – ทำงานได้เยอะ ไม่เหนื่อยเร็ว ไม่เมื่อยเร็ว ไม่เจ็บไม่ปวดจนเกินเหตุ ไม่อ่อนเพลียเป็นเวลานาน(หลายสิบนาที-เป็นชั่วโมง) ฟื้นตัวเร็ว- อยู่ดี

  19. ชนิดของสมรรถภาพทางกายชนิดของสมรรถภาพทางกาย • Skill-Related Physical Fitness: Cardiorespiratory endurance, muscle strength +endurance, agility, balance, flexibility, coordination, speed, power, reaction time (เกี่ยวกับการเล่นกีฬา และทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายที่เหมาะสมเป็นหลัก) • Health-Related Physical Fitness: Cardiorespiratory function, muscle function, flexibility, body composition, bone integrity (เกี่ยวกับความสามารถของร่างกายที่จะดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีสุขภาพดี ทำให้มีชีวิตอยู่ใน “กลุ่มมีความเสี่ยงต่ำ” ต่อการเกิด Hypokinetic Diseases)

  20. Health-Related Physical Fitness: “ กุญแจ หรือ หัวใจ ของการพัฒนาส่งเสริมสุขภาพ + สมรรถภาพ และป้องกันโรคของคนยุคใหม่ ”

  21. ขั้นตอนที่ควรจะเป็นสำหรับการเริ่มฝึกออกกำลังกายขั้นตอนที่ควรจะเป็นสำหรับการเริ่มฝึกออกกำลังกาย 1. Medical check-up 2. Exercise Testing 3. Exercise Programming 4. Exercise Training 5. Fitness Testing 6. Program Modification

  22. 1. Medical check-up เพื่อตอบคำถามว่า • เราเป็นอะไร หรือไม่ ? • มีสิ่งใดที่เราต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะปัญหา พื้นฐานทางสุขภาพ ? • Profiles ทางสุขภาพ เช่น เลือด ของเราเป็นอย่างไร ?

  23. 2. Exercise Testingเพื่อตอบคำถามว่า ระดับของสมรรถภาพทางกาย ณ วันนี้อยู่ในระดับใด ? • สมรรถนะความอดทนของระบบการไหลเวียนโลหิตและการหายใจ (Cardio respiratory endurance) Cooper, k.,1982

  24. Cooper, k.,1982

  25. ความยืดหยุ่นของข้อต่อ (Flexibility) Sit and reach rating

  26. ความแข็งแรง + อดทนของกล้ามเนื้อ • (Muscle strength & endurance) Grip rating

  27. ความแข็งแรง + อดทนของกล้ามเนื้อ • (Muscle strength & endurance) Sit-up rating

  28. ส่วนประกอบของร่างกาย (ไขมัน) (Body Composition) Men Women Wilmore, 1988

  29. 3. Exercise Programmingพิจารณาว่าเลือกกิจกรรมอะไรดีจึงจะเหมาะสมกับตัวเรา • ประสบการณ์เดิม + ความชอบ/ความสนใจในปัจจุบัน • สะดวก + เหมาะสมกับเวลาที่ จัดได้ • สิ่งแวดล้อม: บุคคล สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก • วัย เพศ • ปัญหาพื้นฐานของสุขภาพ • สิ่งที่ต้องแก้ไข หรือพัฒนาเป็นพิเศษ สำหรับตัวเรา • ระดับความฟิตของร่างกาย • ฯลฯ

  30. 4. Exercise Trainingฝึกเท่าไรดี ? • ออกกำลังกายเท่าไร / อย่างไรจึงจะได้ประโยชน์คุ้มค่า • หนักพอ: ชีพจรเป้าหมาย (THR) ระหว่าง 50-60 % • ของชีพจรสำรอง (HRR) THR = [ ( MHR-RHR ) X % HRR ] + RHR เมื่อ THR = Target Heart Rate (ชีพจรเป้าหมาย) MHR = Maximum Heart Rate (ชีพจรสูงสุดตามอายุ) MHR = 220- อายุ RHR = Resting Heart Rate (ชีพจรขณะนอนพัก) HRR = MHR - RHR %HRR = ร้อยละที่พึงประสงค์ของ HRR

  31. ตัวอย่าง คำถาม: นิสิตคนหนึ่งอายุ 20 ปี ชีพจรขณะพัก 70 ครั้ง / นาทีออกกำลังกายที่อัตราชีพจรเท่าไรจึงจะถือว่าหนักพอ ? แทนค่าตามสูตร: THR = [ ( MHR-RHR ) X % HRR ] + RHR THR = [(200-70)×.6]+70 =[130×.6]+70 = 78 + 70 = 148

  32. นานพอ: 20 -30 นาทีของกิจกรรมแอโรบิก (ต่อเนื่อง) • บ่อยพอ: 3 ครั้ง / สัปดาห์ • ผสมผสาน: หลากหลายกิจกรรม

  33. 5. Fitness Testingเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง + สร้างแรงจูงใจ (ทดสอบเช่นเดียวกับ Exercise Testing) 6. Program Modificationเพื่อปรับเปลี่ยนโปรแกรมการฝึกให้เหมาะสม

  34. การเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพทางกายการเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพทางกาย 100 ระดับ สมรรถภาพ ทางกาย (%) เปลี่ยนแปลงน้อง ช้ามาก ช้า ปัจจัยตัวอย่างที่มีส่วนเกี่ยวข้อง: ชลอ • เพศ • วัย • ระดับของสมรรถภาพทางกาย ณ จุดเริ่มต้น • ความแตกต่างระหว่างบุคคล เร็ว 2 8 4 6 เวลา (สัปดาห์)

  35. ส่วนประกอบสำคัญของโปรแกรมการฝึกออกกำลังกายที่ดีส่วนประกอบสำคัญของโปรแกรมการฝึกออกกำลังกายที่ดี 1. พัฒนา & รักษาระดับของ Aerobic Fitness 2. รักษาความพอดีของ BMI และปริมาณเนื้อเยื้อไขมันในร่างกาย (BMI = น้ำหนัก(ก.ก.) ÷ ส่วนสูง(เมตร)2 พยายามรักษาให้อยู่ระหว่าง 20-22) 3. พัฒนา & รักษาระดับของ Flexibility 4. พัฒนา & รักษาระดับของ Muscle Strength & Endurance

  36. โปรแกรมเสนอแนะ (รายวัน) เวลาที่ใช้ : 45 นาที อบอุ่นร่างกาย (5) s Stretching (5) F Stretching (5) Aerobic (20) Muscle (Free wt) (10)

  37. โปรแกรมเสนอแนะ(รายสัปดาห์)โปรแกรมเสนอแนะ(รายสัปดาห์) (เฉพาะส่วนที่เป็น Aerobic 20 นาที) จันทร์ ว่ายน้ำหรือขี่จักรยาน หรือ เดิน-จ๊อก อังคาร - พุธ ฝึกด้วยน้ำหนัก/แรงต้าน พฤหัส - ศุกร์ Aerobic dance หรือออกกำลังกาย/เล่นกีฬาที่ชอบ เสาร์ อาทิตย์ เดิน-จ๊อก หรือขี่จักรยาน

  38. กิจกรรมการฝึกออกกำลังกายที่แนะนำกิจกรรมการฝึกออกกำลังกายที่แนะนำ 1. เดิน จ๊อก วิ่ง 2. ขี่จักรยาน 3. ว่ายน้ำ 4. แอโรบิกดานซ์ 5. ฝึกโดยใช้น้ำหนัก / มีแรงต้าน 6. ออกกำลังกาย / เล่นกีฬาที่ชอบ

  39. Cooper, K., 1982

  40. Cooper, K., 1982

  41. Cooper, K., 1982

  42. Cooper, K., 1982

  43. Cooper, K., 1982

  44. Cooper, K., 1982

  45. หลักเบื้องต้นของการฝึกออกกำลังกายเพื่อสุขภาพหลักเบื้องต้นของการฝึกออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ • อาศัยหลักแห่งความค่อยเป็นค่อยไป • (ระวังภาวะฝึกเกิน/การเปลี่ยนแปลงต้องกระทำผ่านเวลา) • วันหนักสลับวันเบา • ความแตกต่างระหว่างบุคคล • “Use it or loose it”

  46. สิ่งที่ควรระวัง • ภาวะที่ต้องหยุดออกกำลังกาย • - หายใจไม่ทัน • - อึดอัดแน่นหน้าอก หน้ามืด • วิงเวียน ตาพล่ามัว • - เหนื่อยมาก ใจสั่น • - รู้สึกร้อนมาก • - หูอื้อ

  47. สิ่งที่ควรระวัง (ต่อ) • ภาวะที่ต้องงดออกกำลังกาย • - ความดันโลหิตสูง • - เป็นไข้ • - ร่างกายอ่อนเพลีย หัวใจอ่อนกำลัง • (อาจจากภาวะอดนอน) • - อากาศร้อนจัดมาก • อย่าให้ร่างกายอยู่ในภาวะ “ขาดน้ำ”

  48. อย่าหวังผลเลิศจากการออกกำลังกายอย่าหวังผลเลิศจากการออกกำลังกาย การออกกำลังกายต้องอาศัยพันธมิตร • โภชนาการ & บริโภคนิสัย • การจัดการความเครียด • การสัมผัส ใช้ยา / สารเคมี • การนันทนาการ / การให้รางวัลแก่ชีวิต • การนอนหลับ • การจัดการเวลา & กิจกรรมชีวิต • ตรวจร่างกายประจำปี “HEALTHY LIFESTYLE” เครดิตภาพ: The Nation

  49. Life Long Exercise Training

More Related