1 / 62

Peritoneal dialysis complications management

Peritoneal dialysis complications management. PD complications. Infection Mechanical Volume overload. Infection. Flush before fill. 1. 2. 3. Infectious complications. Peritonitis. Exit site infection. การติดเชื้อในช่องท้อง.

Download Presentation

Peritoneal dialysis complications management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Peritoneal dialysis complications management

  2. PD complications • Infection • Mechanical • Volume overload

  3. Infection

  4. Flush before fill

  5. 1

  6. 2

  7. 3

  8. Infectious complications Peritonitis Exit site infection

  9. การติดเชื้อในช่องท้องการติดเชื้อในช่องท้อง • สมาคมล้างไตทางช่องท้องโลก International Society For Peritoneal Dialysis (ISPD) พ.ศ. 2553 - ไม่เกิน 0.67 ครั้งต่อรายต่อปี หรือไม่เกิน 1 ครั้งต่อ 18 เดือน • ประเทศไทยปี พ.ศ. 2554 พบว่ามีอุบัติการณ์ช่องท้องอักเสบเท่ากับ - 0.47 ครั้งต่อรายต่อปีหรือ 1 ครั้งทุก 25.5 เดือน

  10. กลไกการติดเชื้อ • Intraluminal route (Touch contamination) • Periluminal route • Enteric route (transmural migration) • Hematogenous spread • Gynecological route

  11. กลไกการติดเชื้อ • Intraluminal route (Touch contamination) เกิดจากการปนเปื้อนเชื้อโรคขณะทำการเปลี่ยนถ่ายน้ำยาล้างช่องท้องหรือสาย transfer ดังนั้นเชื้อก่อโรคจึงเป็นเชื้อที่อาศัยตามผิวหนังผู้ป่วย ได้แก่ - Coagulase negativeStaphylococcus - Diptheroidspp. - Corynebacteriumspp. - Bacillus spp.

  12. กลไกการติดเชื้อ 2. Periluminalroute เชื้อก่อโรคส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติเกาะติดแน่นกับสาย Tenckhoffโดยการสร้าง biofilm พบการติดเชื้อที่ช่องทางออกและอุโมงค์ของสายก่อนแล้วจึงติดผิวด้านนอกของสาย Tenckhoff แล้วจึงผ่านเข้าสู่ช่องท้องผู้ป่วย - Staphylococcus aureus - Pseudomonas spp.

  13. กลไกการติดเชื้อ 3. Enteric route (transmural migration) เชื้อก่อโรคอาจผ่านผนังลำไส้ที่ปกติ หรือผ่านผนังลำไส้ที่มี พยาธิสภาพ ได้แก่ diverticulitis เข้าสู่น้ำยาในช่องท้อง แบคทีเรียแกรมลบได้แก่ Klebsiellaspp., Enterobacterspp. และ Proteus spp. แบคทีเรียแกรมบวก เช่น Enterococcus spp. หรือแบคทีเรียชนิดไม่พึ่งออกซิเจนที่อาศัยอยู่ในลำไส้ใหญ่ เช่น Bacteroidesfragilis ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อ ได้แก่ ภาวะท้องผูก การทำหัตถการภายในลำไส้ เช่น การส่องกล้องตรวจ และการได้รับยาลดกรดเป็นระยะเวลานานๆ

  14. กลไกการติดเชื้อ 4. Hematogenousspread เชื้อโรคจากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเคลื่อนที่ผ่านกระแสเลือดเข้าสู่ช่องท้องผู้ป่วย เช่น - การถอนฟัน - การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ เชื้อก่อโรคส่วนใหญ่ คือ Streptococcus spp.

  15. กลไกการติดเชื้อ 5. Gynecological route เกิดจากการติดเชื้อของช่องคลอดและปากมดลูก ผ่านปีกมดลูกออกมาทางช่องท้อง อาจเกิดจากการทำหัตถการภายในมดลูก แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องคลอด เช่น Lactobaciilusหรือเชื้อที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น Neisseria spp.และ เชื้อรา

  16. เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะช่องท้องติดเชื้อเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะช่องท้องติดเชื้อ ตรวจพบอาการและอาการแสดงทางคลินิก 2 ใน 3 ข้อ คือ • อาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการอักเสบของเยื่อบุผนังช่องท้อง ได้แก่ อาการปวดท้อง กดเจ็บทั่วๆไปของผิวหนังบริเวณหน้าท้อง และการตรวจพบ rebound tenderness • น้ำยาล้างช่องท้องที่ถ่ายออกมาขุ่น (cloudy effluent) หรือมีเม็ดเลือดขาวมากกว่า 100 เซลล์/มล. ร่วมกับพบเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด neutrophil มากกว่าร้อยละ 50 • ตรวจพบเชื้อก่อโรคจากการการย้อมสีแกรมหรือ การเพาะเชื้อจากตัวอย่างน้ำยาล้างช่องท้อง

  17. ขั้นตอนการเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจเซลล์ขั้นตอนการเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจเซลล์ • เตรียมอุปกรณ์ในการเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจ dialysatecell count • นำถุงน้ำยาล้างไตทางช่องท้องที่ปล่อยออกมาเขย่าทำให้ตะกอนกระจายตัว • ใช้ 10% providone iodine ทาฆ่าเชื้อบริเวณที่จะเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้อง ทิ้งให้แห้งจึงเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้อง

  18. การเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจเพาะเชื้อการเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจเพาะเชื้อ 1.แบบปั่น (large volume) ปั่นแยกน้ำยาล้างช่องท้องปริมาณ 50 มิลลิลิตร ด้วยความเร็ว 3000 รอบต่อนาที นาน 15 นาที นำตะกอนที่ได้มาเจือจางในน้ำเกลือนอร์มัล หลังจากนั้นทำการปั่นแยกตะกอนซ้ำ และนำตะกอนที่ได้ไปย้อมแกรมและเพาะเชื้อ บน solid media และใส่ในขวดเพาะเชื้อ hemoculture

  19. การเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจเพาะเชื้อการเก็บน้ำยาล้างไตทางช่องท้องส่งตรวจเพาะเชื้อ 2.แบบแขวน (bedside) ดูดตะกอนจากถุงน้ำยาที่แขวนโดยที่ส่วนต่อ (connecting part) ห้อยลงล่างนาน 30 นาที แล้วแบ่งฉีดลงในในขวด hemocultureขวดละ 10 มิลลิลิตร2 ขวด

  20. การติดเชื้อในช่องท้องการติดเชื้อในช่องท้อง • ผลที่เกิดขึ้น • สูญเสียหน้าที่ของผนังช่องท้อง • ถอดสายออก • เปลี่ยนวิธีการบำบัดทดแทนไตเป็นวิธีอื่น • เสียชีวิต

  21. การรักษา

  22. เพาะเชื้อขึ้น Streptococcus spp.หรือ Enterococcus หยุดยาปฏิชีวนะเดิมทั้งหมด เปลี่ยนยาเป็น ampicillin 125 มก./ล. ผสมในน้ำยาล้างช่องท้องทุกถุง ร่วมกับ aminoglycoside เป็น combination therapy ถ้าเชื้อดื้อต่อยา penicillin ให้เปลี่ยนเป็น vancomycin แทน ถ้าเชื้อดื้อต่อ vancomycin พิจารณาให้quinupristin/daflopristin), linezolid,daptomycin ถ้าอาการดีขึ้น ให้ยาปฏิชีวนะเดิมต่อ ตรวจดูการติดเชื้อบริเวณช่องทางออกของสายล้างช่องท้อง และ การติดเชื้อของอวัยวะภายในช่องท้อง อาการไม่ดึขึ้น ส่งน้ำยาล้างช่องท้องเพาะเชื้อซ้ำ อาการไม่ดึขึ้นภายใน 5 วันหลังได้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ให้พิจารณาถอดสายออก • ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะ • Streptococcus ให้ยาปฏิชีวนะ 14 วัน • Enterococcus ให้ยาปฏิชีวนะ 21 วัน

  23. เพาะเชื้อขึ้น Staphylococcus aureus หยุดยาปฏิชีวนะที่คลอบคลุมแบคทีเรียแกรมลบ ให้ Cefazolin ต่อกรณีที่เป็น MSSA ถ้าเชื้อดื้อต่อยา methicillin (MRSA) พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะร่วมกัน 2 ชนิด คือ vancomycin, teicoplanin หรือ clindamycin ร่วมกับ rifampicin ทางปากวันละ 600 มก.5-7 วัน ถ้าอาการดีขึ้น ให้ยาปฏิชีวนะเดิมต่อ ตรวจดูการติดเชื้อบริเวณช่องทางออกของสายล้างช่องท้อง และ การติดเชื้อของอวัยวะภายในช่องท้อง อาการไม่ดึขึ้น ส่งน้ำยาล้างช่องท้องเพาะเชื้อซ้ำ อาการไม่ดึขึ้นภายใน 5 วันหลังได้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ให้พิจารณาถอดสายออก ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะรวม 21 วัน

  24. ผลเพาะเชื้อขึ้นแบคทีเรียแกรมลบผลเพาะเชื้อขึ้นแบคทีเรียแกรมลบ Pseudomonas spp. Strenotrophomonas spp. แบคทีเรียแกรมลบชนิดอื่นๆ เช่น E. Coli, Proteus spp., Klebsiella spp. ให้ยาปฏิชีวนะร่วมกัน โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ต่างกัน ได้แก่ eftazidime, sulperazon, cefpirome, cefepime, aztreonam, piperacillin, meropenam, imipenem/cilastin, netilmicinและ amikacin หรือ quinolone ทางปาก ให้ยาปฏิชีวนะร่วมกันโดยมีกลไกการออกฤทธิ์ต่างกัน แนะนำเลือกใช้ trimethoprim/ sulfamethoxazole เป็นยาลำดับแรก ปรับยาปฏิชีวนะตามความไวของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะ อาจให้ยากลุ่ม cephalosporin เช่น ceftazidime, cefepime ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะ รวม 21 วัน ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะ รวม 14-21 วัน ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะ รวม 21-28 วัน ถ้าอาการไม่ดึขึ้นภายใน 5 วันหลังได้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ให้พิจารณาถอดสายออก

  25. เพาะเชื้อไม่ขึ้นที่เวลา 3 วัน ถ้าอาการดีขึ้น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ส่งน้ำยาล้างท้องเพาะเชื้อและย้อมสีแกรมซ้ำ โดยส่งเพาะบนวุ้นเลี้ยงเชื้อชนิดพิเศษ เพื่อค้นหาเชื้อรา, Legionella, Mycoplasma, Mycobacteria หรือ ไวรัส ให้ยาปฏิชีวนะเดิมต่อจนครบ 14 วัน เพาะเชื้อขึ้น ยังคงไม่พบเชื้อ ปรับยาปฏิชีวนะตามผลเพาะเชื้อและความไว • ถ้าอาการไม่ดึขึ้นภายใน 5 วัน ให้พิจารณาถอดสายออก และให้ยาปฏิชีวนะเดิมอย่างน้อย 14 วัน ถ้าอาการดีขึ้น ให้ยาปฏิชีวนะเดิมต่อจนครบ 14 วัน

  26. สาเหตุที่ผลการเพาะเชื้อจากสิ่งส่งตรวจไม่ขึ้นเชื้อ • ปริมาณน้ำในช่องท้องที่ส่งตรวจมีปริมาณน้อย • วิธีการเก็บส่งตรวจไม่ได้มาตรฐาน • ปริมาณเชื้อน้อยเกินไป • ตัวเชื้อเป็นกลุ่มที่เจริญเติบโตยาก • ผู้ป่วยเคยได้รับยาปฏิชีวนะมาก่อน

  27. การผ่าตัดถอดสาย Tenckhoffออก • ข้อบ่งชี้ 1. อาการไม่ดีขึ้นภายใน 5 วันหลังได้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม (Refractory peritonitis) 2. ติดเชื้อในช่องท้องซ้ำภายใน 4 สัปดาห์ (Relapsing or recurrent peritonitis) 3. มี Chronic Exit site infection หรือ tunnel infection ร่วมกับ peritonitis (Refractory catheter related peritonitis) 4. Fungal peritonitis

  28. การป้องกันการติดเชื้อในช่องท้องการป้องกันการติดเชื้อในช่องท้อง • แนะนำและอบรมผู้ป่วยและญาติให้ปฏิบัติตามหลักการปลอดเชื้ออย่างเคร่งครัดและห้ามลัดขั้นตอนทุกครั้งที่เปลี่ยนถ่ายน้ำยา และทำความสะอาดแผลเน้นให้ทำการหงายฝาของอุปกรณ์ทุกครั้งที่วาง

  29. 2. ฝึกสอนผู้ป่วยและอบรมซ้ำ ยึดตามแนวปฏิบัติของหน่วยงาน (work instruction: WI)โดยฝึกสอนซ้ำในกรณีต่อไปนี้ ก. หลังเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ข. หลังมี peritonitis หรือมี catheter-related infection ค. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของระดับสายตา ความแม่นยำของมือ อารมณ์ และความจำ ง. หลังเริ่มฝึกอบรมสำหรับผู้ป่วยรายใหม่ไปแล้ว 3 เดือน และควรทำเป็นประจำ อาจจะเป็นรายปีหรือรายครึ่งปีขึ้นอยู่กับแต่ละโรงพยาบาล

  30. 3. ล้างมือให้ถูกวิธี และเช็ดมือให้แห้งทุกครั้งก่อนทำความสะอาดแผลและก่อนเปลี่ยนถ่ายน้ำยา 4. Flush before fill 5. เน้นย้ำให้ตระหนักถึงการรักษาอนามัยสิ่งแวดล้อมในบริเวณที่ทำการเปลี่ยนถ่าย และสถานที่เก็บอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทำ PD และน้ำยาสถานที่ต้องเป็นสัดส่วน แห้ง สะอาด ไม่มีฝุ่น และมีแสงสว่างเพียงพอ

  31. 6. แนะนำข้อปฎิบัติปลีกย่อย เช่น การแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุการรั่วซึม ปริ ฉีกขาดของสาย ข้อต่อหรือปลายสายเกิดการปนเปื้อน การดูแลและการเตรียมการสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการมีสัตว์เลี้ยงไว้ที่บ้าน 7. หมั่นตรวจเยี่ยมบ้านเป็นประจำและทุกครั้งหลังผู้ป่วยติดเชื้อ เพื่อสังเกตุสภาพแวดล้อมขณะเปลี่ยนถ่ายน้ำยา PD และเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการปฎิบัติ รวมทั้งออก WI ให้บุคลากรยึดถือเป็นแนวทางเดียวกัน

  32. Mechanical complications

  33. Mechanical complications • Catheter • Hernias • Dialysate leaks

  34. Catheter 1. ปลายสายอยู่ผิดที่ (Malposition) 2. หักงอ (Kinking) 3. Entrapment

  35. 1. Catheter Malposition • ปลายสายอยู่ผิดที่ เช่น rectovesical pouch (ผู้ชาย)หรือrectouterine pouch (ผู้หญิง)

  36. 2.หักงอ (Kinking)

  37. 3. Catheter Entrapment • ปลายสายอยู่ในกระเปาะ เช่นใต้กระบังลม หรือเข้าไปอยู่ในช่องว่างระหว่างพังผืด

  38. Hernia • Umbilicus hernia • Inguinal hernia • มักเกิดในช่วง 1 ปีแรกของการเริ่ม CAPD

  39. Dialysate leaks ปัจจัยเสี่ยง • เทคนิคการใส่สาย • สภาพหน้าท้อง เช่น อ้วน เคยได้รับการผ่าตัดช่องท้องมาก่อน • โรคปอดเรื้อรัง

  40. Volume overload

  41. ภาวะน้ำเกิน (volume overload) อาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกิน • บวม • น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น • หายใจเหนื่อยหอบ • นอนราบไม่ได้ • ความดันโลหิตสูง • Pleural effusion • Ascites

  42. สาเหตุของ volume overload • Intake (salt,water)เพิ่มขึ้น, urine output ลดลง • Non-compliance • Mechanical problems (malposition, entrapment, leak) • Membrane– มีการเสื่อมหน้าที่ของเยื่อบุผนังช่องท้องในการแลกเปลี่ยนสสาร

  43. Intake • แนะนำจำกัดปริมาณเกลือที่รับประทานต่อวัน ไม่ควรเกินวันละ 2 กรัม หลีกเลี่ยงการใส่เครื่องปรุงรส อาหารหมักดองหรืออาหารสำเร็จรูป

  44. Non-compliance • สังเกตุความสม่ำเสมอในการมาตรวจรักษา การจดบันทึกดุลน้ำยาเข้าออก และความใส่ใจในการจดจำคำแนะนำ • ตรวจสอบปริมาณถุงน้ำยาที่เหลือใช้ในแต่ละครั้งของการมาตรวจรักษา • ตรวจพบอาการ อาการแสดงของภาวะยูรีเมีย แม้ว่าได้รับ adequate dialysis dose • แก้ไขโดยให้ความรู้และเน้นย้ำให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของการฟอกตามกำหนด รวมทั้งให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินใจ

  45. แนวทางการหาสาเหตุ volume overload Plain film abdomen - AP, lateral

  46. Peritoneal Equilibration Test :PET Obtaining patient samples 1.ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องตามปกติ คืนก่อนนัดทำ PET และให้ค้างน้ำยาในช่องท้องเป็นเวลา 8-12 ชั่วโมง 2. ปล่อยน้ำยาที่ค้างท้องก่อนนอนออกให้หมดในท่านั่งหรือ ท่ายืนเป็นเวลาไม่เกิน 25 นาที

  47. Peritoneal Equilibration Test :PET • ใส่น้ำยา 2.5%Dextrose เข้าท้องในอัตราเร็ว 200 ml/minพลิกตัวทุก 2 นาทีหรือทุกๆ 400 ml จนครบ 2 ลิตร ในเวลา 10 นาที • ปล่อยน้ำยาออกมา 200 ml กลับถุงน้ำยา 2-3 ครั้ง - เก็บตัวอย่างน้ำยา 10 ml (zero sample) แล้วปล่อยน้ำยาที่เหลือ (190 ml) คืนเข้าท้อง

More Related