140 likes | 275 Views
FINANCING OF MEDICAL EDUCATION. Supasit Pannarunothai Faculty of Medicine, Naresuan University. วัตถุประสงค์. เปรียบเทียบค่าเล่าเรียนแพทยศาสตรศึกษาในสหรัฐอเมริกา นำเสนอแหล่งรายได้ของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ แนวคิดปฏิรูประบบการคลังของแพทยศาสตรศึกษาในประเทศไทย. ค่าเล่าเรียนที่ UMKC ปี 2002/3.
E N D
FINANCING OF MEDICAL EDUCATION Supasit Pannarunothai Faculty of Medicine, Naresuan University
วัตถุประสงค์ • เปรียบเทียบค่าเล่าเรียนแพทยศาสตรศึกษาในสหรัฐอเมริกา • นำเสนอแหล่งรายได้ของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ • แนวคิดปฏิรูประบบการคลังของแพทยศาสตรศึกษาในประเทศไทย
ค่าเล่าเรียนที่ UMKC ปี 2002/3
ค่าเล่าเรียนที่ Stanford U. US$ 35,000 /yr (1,575,000 baht)
รายงานการเงิน UMKC 1999/2000 รายจ่าย รายรับ
เงินสนับสนุนจากรัฐ Resident training US$ 11 million /yr for 70 posts US$ 4 million /yr for 24 posts ประมาณ 2ล้านบาท/คน/ปี KUMC
เงินสนับสนุนจากรัฐ กรณีรักษาผู้ป่วย จำนวนเงินที่จ่ายเพื่อต้นทุนค่าดำเนินการ (operating costs, Op ij) Op ij = OR i * W j * O a i โดย OR i คืออัตราสำหรับต้นทุนค่าดำเนินการ W j คือ ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของ DRG
เงินสนับสนุนจากรัฐ กรณีรักษาผู้ป่วย จำนวนเงินที่จ่ายเพื่อต้นทุนค่าดำเนินการ (operating costs, Op ij) Oa i = (PLABi * WAGEINDEXi + (1-PLABi) * COLAi) * (1+ DSHi + TEACHi), และ PLABi = สัดส่วนของต้นทุนค่าแรง (payment rate that is labor related) WAGEINDEXi = ดัชนี ค่าแรง (wage index) ของโรงพยาบาลเขตเมือง/ชนบท COLAi = ตัวปรับค่าครองชีพ (cost of living adjustment) DSHi = ตัวปรับสำหรับสัดส่วนคนจน (payment factor for disproportional share) TEACHi = ตัวปรับสำหรับการเรียนการสอน (indirect cost of medical education) TEACHi = 1.89*((1+ (interns + residents) /beds) *.405 - 1)).
เงินสนับสนุนจากรัฐ กรณีรักษาผู้ป่วย จำนวนเงินที่จ่ายสำหรับค่าลงทุน (Cpij) สำหรับกลุ่ม DRGj Cpij = CR * Wj * Cai โดย CR คือ อัตราของประเทศที่จ่ายสำหรับค่าลงทุน Wj คือ ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของ DRG Cai คือ ตัวปรับสำหรับค่าลงทุนของโรงพยาบาลแต่ละประเภท
เงินสนับสนุนจากรัฐ กรณีรักษาผู้ป่วย • จำนวนเงินที่จ่ายสำหรับค่าลงทุน (Cpij) สำหรับกลุ่ม DRGj • Cai = CAPWAGEi * CAPCOLAi * (1+CAPDSHi+CAPTCHi) * CAPLGURBi • CAPWAGEi = WAGEINDEXi * 0.6848; • CAPCOLAi = ตัวปรับสำหรับค่าลงทุนตามค่าครองชีพ = 0.3152 * (COLAi-1)+1; • CAPDSHi = ตัวปรับสำหรับค่าลงทุนตามสัดส่วนคนจน • = exp (0.2025 * DSHRATIOi) • DSHRATIO = 1 สำหรับโรงพยาบาลเขตเมืองมากกว่า 100 เตียง, • = 0.1416 สำหรับโรงพยาบาลที่มีรายรับกว่า 30% จากรัฐ และอื่นๆ = 0 • CAPTCHi = ตัวปรับสำหรับค่าลงทุนตามการเรียนการสอน • = exp (0.2822 * (interns + residents) / average daily census) -1, • CAPLGURBi = ตัวปรับสำหรับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ในเมือง • (= 1.03 for hospitals in large urban areas, = 1.00 otherwise)
สรุป การคลังแพทยศาสตรศึกษา • ระดับ MD จ่าย tuition fee ประมาณ 15% ของต้นทุนโรงพยาบาลทั้งหมด (เพียง 1/3 ที่จ่ายค่าเรียนเอง) • ระดับ Postgrad ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ 2ล้านบาท/คน/ปี เพื่อเป็นเงินเดือนของแพทย์ที่เข้าฝึกอบรมและอื่นๆ