791 likes | 1.37k Views
54101. วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีว อนามัยและความปลอดภัย Basic Engineering for Occupational Health & Safety. วิศวกรรมศาสตร์ ?. เป็นศาสตร์หรือวิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาคำตอบที่ประหยัดและเหมาะสมเพื่อช่วยแก้ปัญหาความต้องการมนุษย์.
E N D
54101 วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีว อนามัยและความปลอดภัย Basic Engineering for Occupational Health & Safety
วิศวกรรมศาสตร์ ? เป็นศาสตร์หรือวิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาคำตอบที่ประหยัดและเหมาะสมเพื่อช่วยแก้ปัญหาความต้องการมนุษย์
วิศวกรรมศาสตร์สาขาหลัก ๆ • วิศวกรรมโยธา • วิศวกรรมเครื่องกล • วิศวกรรมไฟฟ้า • วิศวกรรมเคมี • วิศวกรรมอุตสาหการ 1-13
วิศวกรรมศาสตร์สาขาอื่น ๆ ระบบประปา ? • วิศวกรรมชลประทาน • วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1-14
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยฯศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยฯ • สุขศาสตร์อุตสาหกรรม (แสง,เสียง,ฝุ่นฯ) • อาชีวนิรภัย (การดำเนินการเพื่อป้องกัน)** • การยศาสตร์ (สรีรวิทยาให้เหมาะสม) • อาชีวเวชศาสตร์ (แพทย์,พยาบาล,ตรวจวินิจฉัย)** 1-22-23
แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธาแบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา • การต่อเติมดัดแปลงอาคาร ? 2-7 * ความต้องการของเจ้าของ * กฏหมาย * ความมั่นคงแข็งแรง * ความปลอดภัย ฯลฯ 2-7
ให้นักศึกษาฝึกดูแบบทั้ง 4 แบบให้เข้าใจ 2-9-10
สัญลักษณ์ 3 ประเภท • สัญลักษณ์อ้างอิง (รูปตัด/ รูปขายในแบบ) • สัญลักษณ์อ้างอิงวัตถุ (ภาพล่าง) • สัญลักษณ์ของวัสดุ 2-27-28
กระดาษเขียนแบบ • A0 • A1 • A2 • A3 • A4 2-35-36
การอ่านแบบคอนกรีตเสริมเหล็กการอ่านแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก • RB (round bar) เหล็กเส้นกลม ตัวอย่าง RB9 ? • DB(deformed bar) เหล็กข้ออ้อย • ตัวอย่าง DB25 ? ...ให้นักศึกษาอ่านแบบในหน้า 2-47... 2-40-41
ป RB 6 มม.@ 0.18 ม. SR24 เหล็กเส้นกลมที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ2,400 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร SD30 เหล็กข้ออ้อยที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ 3,000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร อ่านแบบบันไดรูปพรรณ 1 ข้อ ปกติ/ซ่อม 2-59 2-47
การถ่ายน้ำหนักหลังคา 1.แป 2.จันทัน(จันทันเอก,จันทันพราง) 3.อกไก่ 3.อะเส 4.ดั้ง 5.ขื่อ 3-8
การถ่ายน้ำหนักหลังคา(หน้าที่)การถ่ายน้ำหนักหลังคา(หน้าที่) 1.แป (รับน้ำหนักจากหลังคา) 2.จันทัน (รับน้ำหนักจากแป) 3.อกไก่ (รับน้ำหนักจากจันทัน) 4.ดั้ง (รับน้ำหนักจากอกไก่ตามแนวจันทันเอก) 5.อะเส (รับน้ำหนักจากรับน้ำหนักจากจันทัน) 6.ขื่อ (รับน้ำหนักจากดั้งและยึดหัวเสา) 3-9
ลักษณะคาน 3 ประเภท 1.คานช่วงเดี่ยว 2.คานต่อเนื่อง 3.คานยื่น 3-15
ประเภทฐานรากตามรับน้ำหนักประเภทฐานรากตามรับน้ำหนัก • ฐานรากต่อเนื่องรับกำแพง (ถ่ายเทตามพนังหรือกำแพงเป็นทางยาว) • ฐานรากเดี่ยว (รับน้ำหนักเสาเป็นจุดๆ บ้านพักอาศัย) • ฐานรากร่วม (รับน้ำหนักจากเสาหลาย ๆ ต้น) • ฐานรากแพ (พื้นที่กว้าง ๆ ขนาดใหญ่/อาคารสูง) • ฐานรากตีนเป็ด (ติดกับคนอื่น) 3-28
เสาเข็มเหล็ก มีวัตถุประสงค์ในการก่อสร้างชั่วคราวเท่านั้น หลังจากนั้นจะรื้อถอนออกไป เสาเข็มแบบแผ่นเหล็กที่เรียกกันทั่วไปว่าเข็มพืด ใช้ในการป้องกันดินพังทลายขณะก่อสร้าง 3-31
ดินเหมาะสำหรับเป็นฐานรากได้ดี 3-31 • การเลือกไม้ทำฝ่าและคร่าว ควรเป็น ? ไม้เนื้อ...............น้ำหนัก............... ชื่อต้นไม้ 2 ชนิด......................... คือ ไม้เต็ง, รัง 3-40
เหล็กหล่อ 4 ประเภท เหล็กหล่อเทา, หล่อเหนียว เหล็กขาว, เหล็กหล่ออบเหนียว 1.เหล็กหล่อที่นิยมทำชิ้นส่วนรถยนต์ ? 2.ส่วนใหญ่ไปใช้งานหนัก(รถไฟ,รถเทรกเตอร์)? 4-34
ทองแดงผสมหรือโลหะผสมทองแดงทองแดงผสมหรือโลหะผสมทองแดง • ทองเหลือง กลุ่มที่มีปริมาณสังกะสีไม่เกิน 15 % สีสันคล้ายทองคำ มองดูสวยงามและมีคุณค่าจึงนิยมใช้ทำเหรียญตรา เช่น เฟอร์นิเจอร์ตกแต่ง เครื่องดนตรี ฯลฯ • บรอนด์ เป็นโลหะผสมระหว่าง ? ดีบุก + ทองแดง . โลหะที่มีคุณค่าในตัวเองนิยมทำ เหรียญกษาปณ์ โลหะทองแดงผสม กับ......................... โลหะผสมทองแดง + นิกเกิล 4-56-57
การทดสอบแบบทำลาย • การทดสอบการดึง • การทดสอบความแข็ง • การทดสอบแรงกระแทก • การทดสอบความล้า • การทดสอบการคืบตัวที่อุณภูมิสูง 4-73
การทดสอบแบบไม่ทำลาย • การตรวจสอบด้วยอนุภาคแม่เหล็ก • การตรวจสอบด้วยภาพถ่ายรังสี • การตรวจสอบด้วยอัลตร้าโซนิค • การตรวจสอบด้วยสายตา 4-73
อนุภาคในบรรยากาศ • ฝุ่น (การแตกกระจายของวัสดุที่เป็นของแข็ง) • ฟูม (การควบแน่นของไอร้อนของวัสดุเป็นของแข็ง) • ละออง (การแตกกระจายของของเหลวโดยกลไกทางกายภาพ) • ควัน (การรวมตัวของของแข็งและของของเหลวขนาดเล็ก) 5-5
หน่วยที่ 6, 7 • สถานะของสารและการเปลี่ยนสถานะสาร 6-17 • การถ่ายเทความร้อน/นำพาความร้อน 6-47-48 • การไหลนำมาใช้ประกอบ • ความดันสัมบูรณ์ = ความดันเกจ + ความดันบรรยากาศ (Pabs + Pgage + Patm 7-17 6-47-48
ท่อพลาสติก 2 ประเภท • เทอร์โมพลาสติก thermoplastic • เทอร์โมเซ็ท thermoset 8-7
เทอร์โมพลาสติก เรซินที่มีคุณสมบัติสามารถอ่อนตัวได้เมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวเมื่อได้รับความเย็นโดยสามารถทำช้ำได้ โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงจึงสามรถนำมาใช้ใหม่ได้อีก 8-7
เทอร์โมเซ็ท เป็นพลาสติกที่มีความแข็งแรงไม่สามารถยืดหยุ่นได้ และเมื่อบ่มเสร็จแล้วหลังการผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้อีก ใช้ประโยชน์ในด้านเสริมความแข็งแรงได้ 8-7
หน้าที่ของวาล์ว • เริ่มและหยุดการไหล • ปรับระดับการไหล • ป้องกันการไหลย้อนกลับ • ปรับลดความดัน • ระบายความดัน • เปลี่ยนทิศทางการไหล 8-8
ตัวอย่างคำถาม • หน้าที่ของวาล์วส่วนที่เริ่มและหยุดการไหล คือ................................... (เกทวาล์ว, บอลวาล์ว, ปลั๊กวาล์ว) 8-8
ส่วนประกอบของวาล์ว • ตัวเรือนวาล์ว • ลิ้นและบ่อรองลิ้น(ควบคุม/บังคับทิศทางการไหล) • ก้านวาล์ว(ขับวาล์วไห้เคลื่อนที่เพื่อควบคุมการไหล) • บอนเน็ต(อุปกรณ์ที่ครอบอยู่บนชิ้นส่วนอื่นๆ ที่เคลื่อนที่ได้ของวาล์ว เป็นที่ทะลุผ่านของเกลียว • อุปกรณ์ขับวาล์ว • เปลี่ยนทิศทางการไหล 8-8
การติดตั้งของปั้ม • ต้องไม่ตั้งอยู่ในที่ที่ตากแดดตากฝน โรงสูบที่ตั้งต้องไม่เปียกชื้น • สถานที่ตั้งควรอยู่ในที่สามารถเข้าไปตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแซมได้ • ควรอยู่ในที่ที่ใกล้ระดับน้ำ หรือของเหลวที่ต้องการสูบให้มากที่สุด **ประเด็นข้อใดใช่/ ไม่ใช่? 8-45
หลักการทำงานเครื่องอัดอากาศหลักการทำงานเครื่องอัดอากาศ • แบบลูกสูบชัก • แบบโรตารี่ • แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง **.....................เป็นแบบใด? 8-54-56
อากาศอัดใช้ในกิจการใดอากาศอัดใช้ในกิจการใด • ระบบเบรครถยนต์ • ปิด-เปิดประตูรถโดยสารประจำทาง • ทันตแพทย์ใช้ในการขัดทำความสะอาดฟัน • บรรจุขวดน้ำอัดลม 8-60
ระบบท่อ • ท่อประปา, ท่อน้ำเสีย, ท่อน้ำโสโครก, ท่อระบายอากาศ, ท่อระบายน้ำฝน -ท่อน้ำเสีย (อ่างล้างมือ, อาบน้ำ, ล้างในครัว, ซักล้างและการล้างพื้น -ท่อน้ำโสโครก (โถส้วม, โถปัสสาวะ) 9-7
มาตรฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลมาตรฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล มาตรฐานที่นิยมใช้กับในปัจจุบันของไทยและต่างประเทศ (ให้นักศึกษาศึกษาตัวเต็มและตัวย่อ) หน่วยงานใดที่จัดทำมาตรฐานงานทางวิศวกรรมเครื่องกลของประเทศไทย ว.ส.ท. คืออะไรระบุชื่อตัวเต็ม............. 9-12
การออกแบบระบบปรับอากาศการออกแบบระบบปรับอากาศ 1.การลงทุน/งบประมาณ 2.ความต้องการใช้สอยอาคารเริ่มต้น - อนาคต 3.สถาปัตยกรรม/โครงสร้างอาคาร 4.สิ่งแวดล้อมภายนอก, ภายในอาคาร 5.แผ่นดินไหว, ลดประหยัดพลังงาน 6.อัคคีไฟควันไฟไหม้อาคาร, การดำเนินงานอาคารต่อปี 9-78
ศึกษาสัญลักษ์ • ให้ศึกษาสัญลักษณ์ หน้า 9-94-95-112 • ส่วนประกอบที่การทำงานคล้ายฟิวส์ ระบบไฟฟ้าประกอบด้วย 4 ส่วน 1.การผลิต 2.การส่งกำลังไฟฟ้า 3.จำหน่าย 4.ใช้กำลังไฟฟ้า 9-98
ส่วนประกอบการต่อลงดินส่วนประกอบการต่อลงดิน • หลักดินหรือระบบหลักดิน • สายต่อหลักดิน • การต่อฝาก • สายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า 10-51-54
หลักดินหรือระบบหลักดินหลักดินหรือระบบหลักดิน • หลักดินแบบแท่ง • หลักดินหุ้มด้วยคอนกรีต • แบบแผ่นโลหะ • หลักดินแบบวงแหวน • แบบกริด 10-51-52
อันตรายจากฟ้าฝ่า 2 ประเภท 1.ฟ้าฝ่าโดยตรง อาจเกิดกับอาคารหรือสิ่งที่อยู่สูงเด่นกว่าสิ่งอื่น 2.ฟ้าฝ่าโดยอ้อม เมื่อเกิดฝ่าฝ่าลงดินที่มีความต้านทานเป็นสาเหตุให้เกิดแรงดันช่วงก้าวหรือแรงดันสัมผัส ประเด็นสถานการณ์...........................ท่านจะทำอย่างไร? 10-58
ระบบป้องกันฟ้าฝ่าภายนอกระบบป้องกันฟ้าฝ่าภายนอก • ตัวนำล่อฟ้า • ตัวนำลงดิน • รากสายดิน (เป็นส่วนใด ?) 10-61
ส่วนประกอบระบบป้องกันฟ้าฝ่าฯส่วนประกอบระบบป้องกันฟ้าฝ่าฯ • ตัวนำล่อฟ้า (หลักล่อฟ้า, สายตัวนำขึง, ตัวนำตาข่าย) • ตัวนำลงดิน 10-65 • รากสายดิน 10-67 10-65-67
แนวทางการออกแบบระบบป้องกันฯแนวทางการออกแบบระบบป้องกันฯ • วิธีมุมป้องกัน • วิธีทรงกลมกลิ้ง • วิธีตาข่าย 10-68-69
อุปกรณ์ควบคุมทางวิศวกรรมฯอุปกรณ์ควบคุมทางวิศวกรรมฯ • เครื่องจักรอุปกรณ์ในการผลิต • เครื่องมือวัด • เครื่องส่งสัญญาณ • สายสัญญาณ • เครื่องควบคุม • เครื่องบันทึกสัญญาณ 11-16-17
หน้าที่เครื่องส่งสัญญาณหน้าที่เครื่องส่งสัญญาณ • เครื่องส่งสัญญาณ transmitter ต้องมีการแปลงสัญญาณและปรับระดับให้เหมาะสมก่อนส่งสัญญาณเข้าระบบควบคุมต่อไป • การควบคุมการผลิตมี 2 แบบ • 1.แบบใช้คนบังคับ (ต้องใช้ประสบการณ์และไม่ใช้ประสบการณ์) 2.แบบอัตโนมัติ 11-19-20
การจำแนกพื้นที่อันตรายการจำแนกพื้นที่อันตราย • Division 1, 2 = สารไวไฟ • Zone 0, 1, 2 = ก๊าซ • Zone 20, 21, 22 = ฝุ่น 11-30-31
มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ Programmable logical controller (PLC) PLC คืออะไร?........................................... ระบบการทำงานของ PLC 1.หน่วยประมวลผลกลาง 2.หน่วยความจำ (แบบแรม RAM) 11-54-55
มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ 3.หน่วยรับสัญญาณอินพุต 4.หน่วยส่งสัญญาณเอาส์พุต 5.หน่วยจ่ายกำลังไฟฟ้า 11-55-56
มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ Programmable logical controller Program……… logical ……roller Program……… logical control… Programmable logi….. controller ...............mable logical …….roller 11/0
วิศวกรรมเคมี • เอ็นทัลปี enthalpy : He He = U + pv v คืออะไร? • U = พลังงานภายใน • P = ความดัน • V = ปริมาตร 12-11
ประเภทของปฎิกิริยา 2 ประเภท 1.ปฏิกิริยาแบบเอกพันธ์ อัตราความเร็วนั้นไม่สามารถวัดผลได้โดยตรงได้ต้องวิเคราะห์หาข้อมูลจากปฏิกิริยาเคมีขนาดทดลองหรือห้องปฏิบัติการก่อน 2.ปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์ ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกิริยาเคมีโดยมีเฟสเข้ามาเกี่ยวข้องตั้งแต่ 2 เฟสขึ้นไป 12-13-14