230 likes | 498 Views
ครั้งที่ 69 (4/2552). การนำเสนอกิจกรรม QA. เรื่อง E-Learning / Telemedicine. ภาควิชาจักษุวิทยา. วันที่ 30 ตุลาคม 2552. Scope . ภาควิชามีการวางแผนจัดการเรียนการสอน E-learning อย่างไรบ้าง ภาควิชาใช้ E-learning สนับสนุนการสอนอย่างไรบ้าง ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ E-learning.
E N D
ครั้งที่ 69 (4/2552) การนำเสนอกิจกรรม QA เรื่อง E-Learning / Telemedicine ภาควิชาจักษุวิทยา วันที่ 30 ตุลาคม 2552
Scope • ภาควิชามีการวางแผนจัดการเรียนการสอน E-learning อย่างไรบ้าง • ภาควิชาใช้ E-learning สนับสนุนการสอนอย่างไรบ้าง • ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ E-learning
ภาควิชามีการวางแผนจัดการเรียนการสอน E-learning อย่างไรบ้าง
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา วัตถุประสงค์ • พัฒนาสื่อการเรียนการสอนของภาควิชา ให้มีผลตามเป้าหมายของคณะและมหาวิทยาลัย และสามารถผลิตสื่อการเรียนการสอนได้อย่างสม่ำเสมอ โดยสอดคล้องกับหลักสูตร • พัฒนาองค์ประกอบพื้นฐานเพื่อเกื้อหนุนต่อการสร้างสื่อการเรียนการสอน • เผยแพร่สื่อการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษาได้อย่างทั่วถึง
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยาแผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา ผู้รับผิดชอบโครงการ : หัวหน้าภาควิชา, คณะกรรมการด้านการศึกษาก่อนและหลังปริญญา แผนการดำเนินงาน : • กำหนดให้งานสื่อการเรียนการสอนเป็นส่วนหนึ่งของภาระงานของอาจารย์แพทย์ • อาจารย์เข้าอบรมด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 คน เมื่อมีการจัดการอบรม
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยาแผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา แผนการดำเนินงาน : • จัดตั้งอาจารย์ที่รับผิดชอบงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนจากคณะกรรมการด้านการศึกษาก่อนและหลังปริญญา โดยทำหน้าที่ 3.1 กำหนดเป้าหมายการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในแต่ละปี 3.2 กระตุ้นให้เกิดการผลิตสื่อการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยกำหนดการประชุมทุก 4 เดือน เพื่อช่วยเสนอหัวข้อในการผลิตสื่อ, ติดตามความก้าวหน้าในการทำ, ร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการผลิตสื่อการเรียนรู้
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยาแผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา แผนการดำเนินงาน : 3.3 สำรวจความต้องการพื้นฐานในการผลิตสื่อการเรียนการสอนจากบุคลากรภายในภาควิชา ปีละอย่างน้อย 2 ครั้ง 3.4 รวบรวมผลการผลิตสื่อการเรียนรู้ทั้งหมด ทุกปี 3.5 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านวิชาการของภาควิชาในการให้ข้อมูลแก่นักศึกษา เพื่อการค้นคว้า
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยาแผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา แผนการดำเนินงาน : 3.6 จัดทำแบบประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอนของนักศึกษา แล้วนำผลมาวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน และตรงกับวัตถุประสงค์ของบทเรียนให้มากที่สุด 3.7 จัดระบบและดูแล Website และ Virtual Classroom ของภาควิชา • สนับสนุนให้บุคลากรเข้ารับการอบรมหลักสูตรการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแบบต่าง ๆ
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยาแผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา เป้าหมาย • ภาควิชาผลิตสื่อการเรียนการสอน (CAI, VDO, Slide, เนื้อหาใน virtual class room) เรื่องใหม่อย่างน้อย 1 เรื่อง/ปี/ภาควิชา อย่างสม่ำเสมอ • อาจารย์เข้ารับการอบรมด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 คน เมื่อมีการจัดการอบรม • มีบุคลากรที่เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของภาควิชา
แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยาแผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา เป้าหมาย ภาควิชาผลิตสื่อการเรียนการสอน (CAI, VDO, Slide, เนื้อหาใน virtual class room) เรื่องใหม่อย่างน้อย 1 เรื่อง/ปี/ภาควิชา อย่างสม่ำเสมอ
เป้าหมาย อาจารย์เข้ารับการอบรมด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 คน เมื่อมีการจัดการอบรม มีบุคลากรที่เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของภาควิชา 2550 อ พญ วันทนีย์ ศรัณยคุปตย์ 2551 อ นพ พิชัย จิรรัตนโสภา 2552 อ นพ วีระวัฒน์ คิดดี คุณพนิดา เพชรปาน แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา
2. ภาควิชาใช้ E-learning สนับสนุนการสอนอย่างไรบ้าง
ภาควิชาใช้ E-learning สนับสนุนการสอนอย่างไรบ้าง • จัดทำ E-learning ในรายวิชา 388 – 471 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกด้านจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา 1, 2 สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 • ร่วม Telemedicine ในรายวิชาสุขภาพและโรคของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 ในหัวข้อ Eye sign in systemic disease
E-learning ในรายวิชา 388 – 471 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกด้านจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา 1, 2 สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4
เนื้อหาประกอบด้วย • แผนการสอน จำนวน 14 เรื่อง • เอกสารประกอบการสอน 17 เรื่อง • สื่อการเรียนการสอน 3.1 Slide ประกอบคำบรรยาย 7 เรื่อง 3.2 CAI จำนวน 12 เรื่อง 3.3 VDO จำนวน 6 เรื่อง
แผนการสอน จำนวน 14 เรื่อง * Skill Practice จำนวน 1 เรื่องคือ Common eye procedure * Lecture จำนวน 9 เรื่อง คือ 1. Review anatomy and physiology of the eye 2. General eye examination 3. Disorder of ocular muscle 4. Red eye 5. Blurred vision 6. Ocular pharmacology 7. Sceening approach for glaucoma 8. Eye pain 9. Preventive ophthalmology * Case study จำนวน 4 เรื่อง คือ - Common eye disease 1 (Red eyeI/Blurred visionI) - Common eye disease 2 (Strabismus/Diplopia) - Common eye disease 3 (Leukocoria/Proptosis) - Common eye disease 4 (Red eyeII/Blurred visionII)
เอกสารประกอบการสอน 17 เรื่อง เรื่องที่ควรรู้ 5 เรื่อง 1. Blurred vision 2. Screening approach for glaucoma 3. Ophthalmic Medication Guideline 4.Retinal detachment 5. Hypertension and retinal vascular diseases เรื่องที่ต้องรู้ 10 เรื่อง • Anatomy and physiology of the eye I • Anatomy and physiology of the eye II • Anatomy and physiology of the eye III • General eye examination • Eye stain • Strabismus and amblyopia • Preventive Ophthalmology • Disorder of ocular muscle • หัตถการจำเป็นทางตาสำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป • ปวดตา เรื่องที่ควรรู้ 2 เรื่อง 1. Lens and cataract 2. การรักษาโรคทางตาด้วย Laser
สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วยสื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย • Slide ประกอบคำบรรยาย 7 เรื่อง • General eye examination I • Skill practice : Common eye procedure : การฝึกตรวจจอประสาทตาด้วย Direct Ophthalmoscope I • Blurred vision • Eye pain • Screening approach for glaucoma • Preventive ophthalmology • Disorder of ocular muscle
สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วยสื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย - CAIจำนวน12 เรื่องประกอบด้วย
สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วยสื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย - VDO จำนวน 6 เรื่องประกอบด้วย • การปิดตาด้วย Pressure Patches และ eye shields โดยผศ.พญ.สุจิตรา กนกกัณฑพงษ์ • หัตถการทางจักษุ • เทคนิคการล้างท่อน้ำตา • เทคนิคการปิดตาแบบ Pressure Patching โดย ผศ.นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล • การล้างท่อน้ำตา Lacrimal irrigation โดย รศ.พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ • การตรวจตาบอดสี โดย รศ.พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ • การผ่าตัดลอกเนื้อ Pterygium Excision โดย ผศ.นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล • การวัดความดันตาด้วย Schiotz Tonometer โดย ผศ.นพ.ธวัช ตันติสารศาสน์
3. ความพึงพอใจในการใช้ E-learning
ความพึงพอใจในการใช้ E-learning สรุปผลการประเมินสื่อ จากนศพ 97 คน จาก 110 คน คิดเป็น 88.18 % จากนักเรียนปี 4 ทั้งหมด หมายเหตุยังไม่รวมกอง 6 เพราะเริ่มเรียนวันที่ 12 ตค 52 จากคะแนนเต็ม5