730 likes | 1.07k Views
e-Learning. Mr. Jiraphan Srisomphan Department of Computer Education KMITNB. หัวข้อบรรยาย. บทนำและความเป็นมาของ e-Learning ความหมายของ e-Learning ประโยชน์ของ e-Learning คุณสมบัติของ e-Learning ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ส่วนประกอบของ e-Learning
E N D
e-Learning Mr. Jiraphan Srisomphan Department of Computer Education KMITNB
หัวข้อบรรยาย • บทนำและความเป็นมาของ e-Learning • ความหมายของ e-Learning • ประโยชน์ของ e-Learning • คุณสมบัติของ e-Learning • ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • ส่วนประกอบของ e-Learning • ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning • สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning • การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning • การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
บทนำ • ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กระตุ้นให้เกิดการศึกษาผ่านเครือข่าย โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต • สนับสนุนด้านการศึกษา สร้างโอกาสของการเรียนรู้ให้ทัดเทียมกัน • สนับสนุนการฝึกอบรมในสถานประกอบการให้ได้รับประโยชน์สูงสุด • Online Training ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในลักษณะของ e-Training ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
บทนำ • มีบทบาทต่อการเรียนการสอนทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการศึกษาทางไกล(Distance Learning) • สนับสนุนการศึกษาแบบ L3 (Life Long Learning) หมายถึงการศึกษาตลอดชีวิต • ผู้เรียนไม่ต้องเสียเวลาเดินทางเข้าร่วมศึกษาในชั้นเรียนและไม่ขึ้นอยู่กับเวลา ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ความหมายของ e-Learning e-Learning เกิดจากคำศัพท์ 2 คำ • eซึ่งมาจาก Electronic ที่มีความหมายในเชิงของความรวดเร็วโดยทำงานในระบบอัตโนมัติ • Learning ซึ่งหมายถึง การเรียน การเรียนรู้ หรือการเรียนการสอน e-Learning Electronic+Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
นิยามตัวอักษร e • e – Experienceคือประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • e-Extendedคือ การใช้ความรู้ที่หลากหลายบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • e- Expandedคือ การขยายความรู้ไปสู่ชุมชนอย่างไม่มีข้อจำกัด ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ความหมายของ e-Learning การเรียนเนื้อหาหรือสารสนเทศสําหรับการสอนหรือการฝึกอบรม ซึ่งใช้การนําเสนอ ด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใช้ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยี ของเว็บในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้งใชเทคโนโลยีการจัดการคอร์ส (Course Management System) ในการบริหาร การเรียนในลักษณะใดก็ได ซึ่งใชการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม วาจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต สัญญาณโทรทัศน หรือ ดาวเทียม เป็นต้น .................(ถนอมพร) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ความหมายของ e-Learning • กระบวนการเรียนรู้ทางไกลอย่างอัตโนมัติผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) • ซีดีรอม • เครือข่ายอินทราเน็ต • เครือข่ายอินเตอร์เน็ต • เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต • ระบบเสมือนจริง (Virtual Reality System) • สื่ออื่น ๆ โดยไม่ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ความหมายของ e-Learning Kurtus กล่าวว่า • “e-Learning เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดเนื้อหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนสำเร็จรูปที่อาจใช้ซีดีรอมเป็นสื่อกลางในการส่งผ่านความรู้หรือใช้เครือข่ายอินทราเน็ตหรือเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รูปแบบของ e-Learning อาจเป็น • บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI – Computer-Assisted Instruction) • บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรม (CBT – Computer-Based Training) • บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ (WBI – Web-Based Instruction) เพื่อใช้ในการเรียนการสอนทางไกล” ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
Technology Computer Networking Communication ความหมายของ e-Learning Courseware Content Exercise/Test e-Learning Media/Aids Activities ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ประโยชน์ของ e-Learning • ความสะดวกสบาย (Convenient) สามารถจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนได้ตามความต้องการโดยไม่ต้องอาศัยชั้นเรียน • ความสัมพันธ์กับปัจจุบัน (Relevant) สามารถปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระและข้อมูลต่าง ๆ ตามสถานการณ์ปัจจุบันได้ง่าย • ความเร็วแบบทันทีทันใด (Immediate) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ประโยชน์ของ e-Learning • ความเป็นเลิศของระบบ (Excellent) สามารถนำเสนอเนื้อหาสาระและระบบการจัดการที่มีความเป็นเลิศ ทันสมัย และน่าสนใจ • การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) • ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนโดยตรง • ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนที่อยู่ต่างชุมชนด้วยความสะดวกและมีประสิทธิภาพ เพื่อร่วมกันสร้างสรรค์องค์ความรู้ในลักษณะของระบบการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning System) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ประโยชน์ของ e-Learning • ความเป็นสหวิชาการ (Interdisciplinary) เป็นการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกันหลายวิชา หรือเรียกว่า สหวิชาการ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
คุณสมบัติของ e-Learning • e-Learning is dynamic หมายถึง เนื้อหาสาระและข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในระบบ e-Learning เป็นข้อมูลที่มีความเป็นพลวัต (Dynamic) เปลี่ยนแปลงได้ง่าย • e-Learning operates in real time หมายถึง การทำงานของระบบ e-Learning เป็นระบบเวลาจริง • e-Learning is empowering หมายถึง ระบบ e-Learning สามารถควบคุมการนำเสนอเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียน การนำเสนอสื่อการเรียนการสอน และส่วนของการจัดการอื่น ๆ ตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
คุณสมบัติของ e-Learning • e-Learning is individual หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของ e-Learning จะสัมพันธ์กับประสบการณ์ของผู้เรียนแต่ละคน • e-Learning is comprehensive หมายถึง ความสามารถของ e-Learning ในการจัดการกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ อย่างเข้าใจและชาญฉลาด • e-Learning enables the enterprise หมายถึง ความสามารถในการสร้างงานหรือภารกิจของ e-Learningต่อกลุ่มผู้เรียนหรือสมาชิกผู้ประกอบการด้วยกัน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
คุณสมบัติของ e-Learning • e-Learning is effective หมายถึง ความสามารถทางด้านประสิทธิผลของ e-Learning ในการทำให้ผู้เรียนมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนแล้วได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง (Retention of Learning) • e-Learning is express หมายถึง ความรวดเร็วของ e-Learning ในการสร้างสรรค์องค์ความรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างรวดเร็วตามต้องการ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
คุณสมบัติของ e-Learning • e-Learning is experiencetialผู้เรียนมีประสบการณ์เหมือนการเรียนในห้องเรียนหลังจากเรียนบทเรียนตามปัจจัยที่ผู้ออกแบบตั้งไว้ • การติดตามบทเรียน (Engagement) • การอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) • การสร้างสถานการจำลองและการฝึกปฏิบัติ (Simulations and Practice) • การช่วยเหลือ (Coaching) • การแก้ไขและการรักษาบทเรียน (Remediation) • สร้างชุมชนการเรียนรู้ (Pier Learning) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
คุณสมบัติของ e-Learning • e-Learning is experiencetial (ต่อ) • การเรียนรู้แบบมีชีวิตชีวา (Action Learning) • การสนับสนุนความสามารถ (Support Performance) • ความเข้มข้น (Intensity)ของเนื้อหา • การประเมินผลและการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Assessment and Feedback) • วัฒนธรรมการสอน (Teaching Culture) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
Web-Based Learning Materials Lectures e-Discussion Groups Student Tutorials e-Libraries Textbooks/Journals Quality and Assessment ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • ผู้เรียน (Student) • วัสดุการเรียนรู้บนเว็บ (Web-Based Learning Materials) • บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ • WBI (Web-Based Instruction) • WBT (Web-Based Training) • IBT (Internet-Based Training) • NBT (Net-Based Training) • สไลด์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Slide) • Powerpoint Slide ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) • การใช้โปรแกรม Acrobat Reader อ่านไฟล์เอกสาร pdf • เอกสารคำสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Lecture Notes) • ไฟล์ doc, ไฟล์ html • วีดิทัศน์และเสียงดิจิตอล (Video and Digital Sound) • การใช้โปรแกรม RealVideo ดูภาพวีดิทัศน์ และ RealAudio ฟังเสียง • เอกสารไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มีเดีย (Hypertext and Hypermedia Document) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • การบรรยายการสอน (Lectures) ใช้วิธีการบรรยายแบบออนไลน์ผ่านช่องทางโทรคมนาคม ในส่วนเนื้อหาที่สำคัญเป็นครั้งคราว • ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต • ระบบดาวเทียม • ระบบโทรทัศน์ตามสาย (Cable TV) • ช่องทางอื่น ๆ ตามที่ตกลงกันไว้ก่อนระหว่างผู้ดำเนินการและผู้เรียน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • การสอนเสริม (Tutorials) เพื่อเพิ่มความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่มีความยาก กระทำโดยวิธีการออนไลน์ผ่านเครือข่ายเช่นเดียวกันกับการบรรยายการสอน • หนังสือ/บทความ (Textbooks/Journal)เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติม • ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Libraries) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • การวิจารณ์กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Discussion Groups) เพื่อสร้างบรรยากาศให้ใกล้เคียงห้องเรียนจริงผ่านสื่อออนไลน์ แบ่งตามการใช้งานเป็น • ระบบการดำเนินการพร้อมกัน (Synchronous System) • การสนทนาแบบเวลาจริง (Realtime Chat) เช่น การใช้โปรแกรม ICQ, MSN หรือ IRC (Internet Relay Chat) • การประชุมทางไกลด้วยวีดิทัศน์และเสียง (Video and Audio Teleconferencing) เช่น การใช้โปรแกรม NetMeetings สำหรับการประชุมทางไกลร่วมกัน • การเรียนรู้แบบร่วมกัน (Collaborative Learning System) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning • ระบบการดำเนินการไม่พร้อมกัน (Asynchronous System) • การใช้กระดานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Board) เช่น การใช้กระดานข่าว BBS (Bulletin Board System), Webboard, Newsgroup • การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail) เพื่อเป็นช่องทางในการถามตอบปัญหาต่าง ๆ • การใช้บริการอื่น ๆ เช่น การถ่ายโอนข้อมูลโดยใช้ ftp ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
Learning Management System (LMS) Content Management System (CMS) Student Delivery Management System (DMS) Test Management System (TMS) e-Learning ส่วนประกอบของ e-Learning ส่วนประกอบของ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning • Learning Management System (LMS) :ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ จะต้องนำพาผู้เรียนไปยังเป้าหมายที่ต้องการ นับตั้งแต่การลงทะเบียนเรียนจนถึงการประเมินผล • เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็นระบบสำหรับนำทางและจัดการเกี่ยวกับบทเรียนทั้งหมด ทั้งความต้องการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น • CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของ e-Learning ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกอบรมตามประสบการณ์ของตนเอง ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดการรายการต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ นับตั้งแต่การลงทะเบียน การสืบท่อง (Navigation) การเลือกบทเรียน และการต่อเชื่อมเข้าระบบ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS KMITNB RMS (Registration Management System) for Virtual University ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS ขั้นที่ 5 เลือกปีการศึกษา ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS LMS มีหน้าที่ดังนี้ • การบริหารและการจัดการบทเรียน (Administration) • การจัดการรวบรวมเนื้อหาบทเรียน (Organizational Management) • การจัดการด้านเวลา (Time Management) • การรายงานการเรียน (Reporting) • การวิเคราะห์ความต้องการ (Needs Analysis) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS LMS มีหน้าที่ดังนี้ • การเตรียมการวางแผนบทเรียน (Preplanning) • การจัดตารางเวลาการเรียน (Scheduling) • การจัดการด้านองค์ความรู้ (Knowledge Management – KM) • การวางแผนด้านทรัพยากรข้อมูล (Resources Planning) • การจัดการด้านการออกใบรับรองผล (Qualification Management) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS • Content Management System (CMS)หมายถึงระบบการจัดการด้านเนื้อหา ซึ่งเป็นส่วนบริการสำหรับผู้ออกแบบหรือผู้พัฒนาบทเรียนในการสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาบทเรียน • เนื้อหา • ส่วนของการลงทะเบียน • การรวบรวม • การจัดการเนื้อหา • การนำส่งเนื้อหา • การพิมพ์เป็นเอกสาร หรือการบันทึกลงซีดีรอม ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning • Delivery Management System (DMS) • หมายถึง ระบบการจัดการด้านการนำส่ง ซึ่งเป็นการนำส่งบทเรียนไปยังผู้เรียนได้ศึกษาตามวัตถุประสงค์ การนำส่งบทเรียนจึงรวมถึง • การจัดการบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การพิมพ์เป็นเอกสารสำหรับผู้เรียน • การบันทึกลงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • การนำส่งบทเรียนในรูปแบบอื่น ๆ ไปยังผู้เรียน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : DMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning • Test Management System(TMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้านการทดสอบ • การนำข้อสอบเข้าสู่ระบบ • การดำเนินการสอบให้กับผู้เรียน • การประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียนในระบบ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ส่วนประกอบของ e-Learning : TMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning • Blackboard’s Courseinfo (www.blackboard.com), USA. • Lotus LearningSpace (www.lotus.com) ของ IBM Corp., USA. • WebCT (www.webct.com) ของ University of British Columbia, Canada • Topclass (www.wbtsystems.com) ของ WBT System, USA. • SAP (www.sap.com) ของ SAP’s Corporate Research Center, Germany • Education Sphere (www.educationsphere.com) ของ USA ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning บทเรียนและ Virtual Lab ในระบบ e-Learning ของ Igenetic, Germany ที่ใช้ SAP เป็น LMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
VPN (Virtual Private Network) Service Center Virtual Private Network (VPN) Central Servers Search Engine สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning e-Learning Center Learn Center PC Proxy Servers สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning • ศูนย์บริการ (Service Center) • เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลาง (Central Servers) • เครื่องมือช่วยค้นหา (Search Engine) • เครือข่ายส่วนตัวเสมือน (Virtual Private Network - VPN) • ศูนย์การเรียนรู้ (e-Learning Center) • ศูนย์เรียนรู้ (Learn Center) • เครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) • เครื่องพร๊อกซีเซิร์ฟเวอร์ (Proxy Servers) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning เพื่อจัดการเรียนการสอนทางไกลไปยังกลุ่มเป้าหมาย จำแนกออกเป็นด้านต่าง ๆ ดังนี้ • การดำเนินการด้านเทคโนโลยี • การดำเนินการด้านเนื้อหาบทเรียน • การดำเนินการด้านการบริหารและจัดการระบบ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.
การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning • การดำเนินการด้านเทคโนโลยี • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) • เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลาง (Central Servers) ที่มีความเร็วในการประมลผลสูง มีหน่วยเก็บความจุที่มีปริมาณมากเพียงพอ • เทคโนโลยีเครือข่าย (Network Technology) • เครือข่ายอินทราเน็ต อินเตอร์เน็ต และเครือข่ายเอ๊กซ์ทราเน็ต • เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) • สายโทรศัพท์ สายเช่า เคเบิลใต้น้ำ ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร หรือระบบการสื่อสารอื่น ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.