650 likes | 898 Views
Calcium and Vitamin D in the Prevention and Treatment of Osteoporosis. รศ.นพ. สุกรี สุนทราภา ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Osteoporosis. Normal. โรคกระดูกพรุนคืออะไร. โรคกระดูกพรุนคืออะไร. โรคกระดูกพรุนคือ โรคของกระดูกที่มีคุณลักษณะสำคัญสองประการคือ
E N D
Calcium and Vitamin D in the Prevention and Treatment of Osteoporosis รศ.นพ. สุกรี สุนทราภา ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Osteoporosis Normal
โรคกระดูกพรุนคืออะไร • โรคกระดูกพรุนคือ โรคของกระดูกที่มีคุณลักษณะสำคัญสองประการคือ • มีมวลกระดูกต่ำ • โครงสร้างทางจุลภาคภายในกระดูกมีการเสื่อมสลายลง • ทำให้กระดูกเปราะและแตกหักง่าย Concensus development conference: Am J Med 1993; 94:646-50. Concensus development conference: Am J Med 1991; 90(1):107-10. Consensus Conference in Copenhagen, 1990
คำจำกัดความล่าสุดของโรคกระดูกพรุน 2001 (NIH of USA) • โรคกระดูกพรุนคือความผิดปกติของกระดูกที่ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง ทำให้ผู้นั้นเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักเพิ่มขึ้น โดยความแข็งแรงของกระดูกนี้เกิดจากสองปัจจัยรวมกันคือ • ความหนาแน่นของกระดูก • คุณภาพของกระดูก • Consensus Development Conference, JAMA 2001; 285: 785-95
Dual Energy X-Ray Absorptiometry (DEXA) Osteoporosis : T-score <-2.5 Severe osteoporosis : T-score <-2.5 with bony fracture • DPX-IQ, Lunar Corp, USA • Precision errors 1%-2% WHO 1994
การเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นของกระดูกการเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นของกระดูก กระดูกพรุน หมด ประจำ เดือน 0.5%/ปี 5%/ปี 0.5%/ปี ลดลงช้าๆ ลดลงช้าๆ ลดลงรวดเร็ว เพิ่มขึ้น รวดเร็ว อายุ
จากกราฟที่เห็นพบว่ายิ่งมีอายุมากขึ้น จำนวนคนที่จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มโรคกระดูกพรุนจะยิ่งเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มอายุมากกว่า 80 ปี ประมาณครึ่งหนึ่งจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มของโรคกระดูกพรุน
อาการสำคัญของผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนอาการสำคัญของผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน
อาการสำคัญของผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนอาการสำคัญของผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน • โดยทั่วไปโรคกระดูกพรุนจะไม่มีอาการ ผู้ป่วยจะมีอาการต่อเมื่อ 1. มีกระดูกหักจากอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย 2. ปวดหลังโดยไม่ทราบสาเหตุ ส่วนใหญ่มักเกิดจากมีกระดูกสันหลังหักหรือทรุดลง 3. หลังโก่งหรือตัวเตี้ยลง Quality of life ผลที่ตามมาของผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกพรุนและไม่ได้รับการรักษา
โรคกระดูกพรุน ภัยเงียบ
Risk Factor of Osteoporosis 1. old age 2. history of maternal hip fracture 3. menopause 4. Oophorectomy 5. Low calcium and vitamin D intake 6. small body frame 7.being sedentary, no regular physical activity and exercise 8. on long term steroid medications 9. drinking excessive alcohol and smoking
Risk Factor of Osteoporosis The first step in the prevention or treatment of osteoporosis is ensuring adequate nutrition particularly maintaining an adequate intake of calcium and vitamin D NIH Consensus Conference. JAMA 1994;272:1942.
Calcium Elemental Composition of the Human Body • Calcium is the fifth most abundant chemical element in the human body Lehninger, Biochemistry, 2nd ed., 1975
Calcium • Calcium is an essential nutrient • Calcium has critical roles in a variety of biochemicaland physiologic processes • 99% of calcium deposit in the bone • 1% in extracellular fluid
The important function of Calcium 1.Bone strength 2. Nerve conduction 3. Blood coagulation 4. Skeletal muscle contraction 5. Cardiac muscle contraction 6. Intracellular signal transduction
Calcium • What is the optimal amount of calcium intake? • Calcium supplementation and bone benefit • Different forms of calcium intake • Factors influenced calcium absorption • Adverse eventsof calcium intake
Optimal amount of calcium intake Refer to level of intake that necessary for an individual • To maximize peak bone mass • To maintain adult bone mass • To minimize bone loss in later years NIH Consensus Conference. JAMA 1994;272:1942.
Optimal calcium requirements recommended by the National Institutes of Health Concensus Panel (JAMA 1994;272:1942-8)
Optimal calcium requirements recommended by the National Institutes of Health Concensus Panel (JAMA 1994;272:1942-8)
Status of Calcium Ingestion of U.S. • 50% of U.S. women between the ages of 18 and 70 years ingest less than 500 mg of calcium per day. Abraham s, et al. Dietary intake source data, United States. 1971-74. Hyattsville, Md.: National Center for Health Statistics, 1977. (DHEW publication no. (PHS) 77-1221.)
Calcium คนไทยรับประทาน calcium เพียงพอไหม
ปริมาณแคลเซียมที่รับประทานในคนกรุงเทพและปริมณฑล( รศ. สุรัตน์ โคมินทร์) • ศึกษาในคนที่มีสุขภาพแข็งแรงอายุ 20-80 ปี จำนวน 400 ราย • แคลเซียมที่รับประทานโดยเฉลี่ยต่อวันประมาณ 361 มก. • มากกว่าร้อยละ 65 รับประทานแคลเซียมน้อยกว่า 400 มก./วัน • มีเพียงร้อยละ 2 ที่รับประทานแคลเซียมมากกว่า 800 มก./วัน
สรุปปริมาณแคลเซียมที่รับประทานต่อวันของคนไทยสรุปปริมาณแคลเซียมที่รับประทานต่อวันของคนไทย • ส่วนใหญ่รับประทานแคลเซียมไม่เกิน 400 mg/day • RDA ของคนไทยประมาณ 800-1200 mg/day • คนไทยขาดแคลเซียมประมาณ 400-800 mg/day
Meta-analysis Calcium for Prevention of Osteoporotic Fracture in Postmenopausal Women Cumming RG, Nevitt MC. Journal of Bone and Mineral Research 1997;12(9):1321-9.
Results • 4 RCTs: สตรีที่อยู่ในกลุ่มรับแคลเซียมมีความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักลดลง (RR 0.3-0.7) • 3 non-randomised trials: พบว่าสตรีที่อยู่ในกลุ่มรับแคลเซียมมีความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกสันหลังหักใหม่ต่ำกว่าสตรีที่ไม่ได้รับแคลเซียม • Pooled OR เมื่อได้รับแคลเซียม 1000 mg /day =0.88 (95%CI: 0.80-0.97).
Percentage of increment in BMD and BMC between groups after 1 year of 500 mg Ca supplementation in males P = .030 P = .031 P = .045 P = .007 Percentage of increments (%) Charoenkiatkul, et al. 1999
Percentage of increment in BMD and BMC between groups after 1 year of 500 mg Ca supplementation in females P = .038 P = .033 Percentage of increments (%) Charoenkiatkul, et al. 1999
สรุป • การเสริมแคลเซียมในปริมาณ 500 mg/day เป็นเวลา 1 ปีสามารถเพิ่มค่ามวลกระดูกได้อย่างมีนัยสำคัญ ทั้งในบุรุษและสตรี
BMD AND QUARTILES OF CALCIUM INTAKE IN LATE POSTMENOPAUSAL WOMEN 1.1 .82 .80 P < 0.05 P < 0.05 1.0 .78 SPBMD (g/cm 2) FNBMD (g/cm 2) .76 .9 .74 .72 .8 .70 Q1 (157-278) Q2 (279-308) Q3 (309-372) Q4 (373-810) Q1 (157-278) Q2 (279-308) Q3 (309-372) Q4 (373-810) <280 >370 >370 <280 Quartiles of calcium intake (mg/d)
สรุป • คนที่รับประทานแคลเซียมน้อย (<280 mg/day)จะมีค่ามวลกระดูกต่ำกว่าคนที่กินแคลเซียมมาก (>370 mg/day)อย่างมีนัยสำคัญ
Women’s Health Initiative (WHI) • Randomly control trial (RCT) • 36,288 postmenopausal women • Ages 50-79 yrs. • Calcium 1000 mg/d + vitamin D 400 IU/d VS placebo Rebecca DJ, et al. N Engl J Med 2006;354:669.
Women’s Health Initiative (WHI) • Average FU period of 7 years • Hip BMD: 1.06 % higher • Hip fracture: HR 0.88, 95% CI 0.72-1.08 • Spine fracture: HR 0.90, 95% CI 0.74-1.10 • Total fracture: HR 0.96, 95% CI 0.91-1.02 Rebecca DJ, et al. N Engl J Med 2006;354:669.
Women’s Health Initiative (WHI) • Over 50% taking hormone therapy • Bisphosphonate, calcitonin, SERM • Not selected for low bone density or osteoporosis Rebecca DJ, et al. N Engl J Med 2006;354:669.
Women’s Health Initiative (WHI) • Subgroup analysis revealed that calcium and vitamin D supplement associated with reduced fracture incidence ( HR 0.71, 95% CI 0.52-0.97 ) in those subjects who took more than 80% of medication. Rebecca DJ, et al. N Engl J Med 2006;354:669.
Different forms of calcium intake
ตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูงตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง ยาคูลท์ 1 ขวด 45 มิลลิกรัม นมเปรี้ยวพร้อมดื่ม 1 กล่อง 150 มิลลิกรัม นมถั่วเหลือง 1 แก้ว 125 มิลลิกรัม นมพร่องมันเนย 1 กล่อง 250 มิลลิกรัม แอนลีน 1 กล่อง 400 มิลลิกรัม
ตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูงตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง กุ้งแห้ง 1 ช้อนโต๊ะ 138 มิลลิกรัม กะปิ 2 ช้อนชา 156 มิลลิกรัม ปลาซาดีนกระป๋อง 100 กรัม 527 มิลลิกรัม
ตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูงตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง ถั่วเหลือง 100 กรัม = 200 มิลลิกรัม เม็ดเดือย 100 กรัม = 19 มิลลิกรัม ถั่วเขียว 100 กรัม = 222 มิลลิกรัม เต้าหู้อ่อน 100 กรัม = 19 มิลลิกรัม ถั่วดำ 100 กรัม = 125 มิลลิกรัม เต้าหู้แผ่น 100 กรัม = 42 มิลลิกรัม ถั่วแดง 100 กรัม = 80 มิลลิกรัม งาดำ 100 กรัม = 1,452 มิลลิกรัม
ตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูงตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง ยอดแค 100 กรัม = 395 มิลลิกรัม ใบยอ 100 กรัม = 469 มิลลิกรัม ผักกระเฉด 100 กรัม = 387 มิลลิกรัม ใบชะพลู 100 กรัม = 275 มิลลิกรัม ผักกวางตุ้ง 100 กรัม = 115 มิลลิกรัม ผักคะน้า 100 กรัม = 164 มิลลิกรัม ถั่วพู 100 กรัม = 62 มิลลิกรัม ถั่วฝักยาว 100 กรัม = 36 มิลลิกรัม ผักโขม 100 กรัม = 192 มิลลิกรัม มะเขือพวง 100 กรัม = 182 มิลลิกรัม
ผัดเผ็ด ยำ และอื่นๆ วงสวาท โกศัลวัฒน์, ปร.ด. ; สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาหารว่าง วงสวาท โกศัลวัฒน์, ปร.ด. ; สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาหารจานเดียว วงสวาท โกศัลวัฒน์, ปร.ด. ; สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล