190 likes | 343 Views
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของ Rhizoctonia solani ( Khun )ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ. Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani ( Khun ) in Bio-Extract Fertilizer. - เศษพืช : ผักหรือเศษผัก ผลไม้ หรือ เปลือกผลไม้ วัชพืช สมุนไพร - สัตว์ : ปลา หอย
E N D
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani(Khun)ในปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer
- เศษพืช : ผักหรือเศษผัก ผลไม้ หรือ เปลือกผลไม้ วัชพืช สมุนไพร - สัตว์ : ปลา หอย : หมักเป็นเวลาประมาณ 7-10 วัน ปุ๋ยหมัก
1. หมักแบบต้องการออกซิเจน (หมักแบบเปิดฝา) 2. หมักแบบไม่ต้องการออกซิเจน (หมักแบบปิดฝา) การหมัก มี 2 แบบ
สารประกอบที่พบจากการวิเคราะห์ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพสารประกอบที่พบจากการวิเคราะห์ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ 1. ธาตุอาหาร : N , P , K ,Ca , Mg และธาตุอาหารอื่นๆ 2. สารควบคุม : Auxins, Gibberellins , Cytokinins 3. สารกำจัดแมลงและโรคพืช : Benzylalcohol , 2- phenylethanol 4. จุลินทรีย์ : Bacillus sp. , Lactobacillus sp. , Streptomyces sp. , Pediococus sp.
ประโยชน์ของปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในการควบคุมการเกิดโรคประโยชน์ของปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในการควบคุมการเกิดโรค การควบคุมการเกิดโรค : Phytophthora palmivora - ยับยั้งการเจริญของเส้นใย - การสร้างและการงอก zoospore : Collectotrichum gloeosporioides
เหตุผล - พบจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในน้ำหมัก เช่น Bacillus sp. , Pseudomonas sp. , Streptococcussp. และยีสต์ - สาร benzene diol , ethyl palmitate และbenzene ethanol
ส่งเสริมการเจริญของเชื้อโรค ? - บางสูตรส่งเสริมการเจริญของ P. palmivora ดีกว่าชุดเปรียบเทียบ (น้ำ) เหตุผล : หมักไม่สมบูรณ์
คำถาม ? หากนำพืชที่เป็นโรคหรือเหลือตกค้างในแปลงเกษตรกร เมื่อนำมาผลิตปุ๋ยน้ำหมัก จะยังมีเชื้อสาเหตุโรคหรือไม่ และหากนำไปใช้กับพืชที่ไม่เป็นโรค พืชจะเป็นโรคหรือไม่ ? รูปที่1 อาการโรคใบติดที่พบในธรรมชาติ ที่นำมาทำน้ำหมักชีวภาพ
วิธีการทดลอง 1. ทดสอบคุณสมบัติการเป็นอาหารจำเพาะต่อ เชื้อ R. solani การแยกเชื้อบริสุทธิ์ การเตรียมอาหารจำเพาะ การทดสอบการเป็นอาหารจำเพาะต่อเชื้อ R. solani
2. การผลิตปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ผัก : กากน้ำตาล : น้ำ = 4 :1:1 ผสม พด. 2 25 กรัม รูปที่2 ถังน้ำหมัก
3. การตรวจหาเชื้อR. solaniในปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ นำน้ำหมักปริมาตร 100 มล. ดูดน้ำหมัก+น้ำกลั่น 9 มล. เจือจางแบบลำดับขั้นถึง 10-5 ดูดน้ำหมัก 0.1 ไมโครลิตร หยดลงบนอาหารจำเพาะและเกลี่ยผิวหน้าอาหาร บ่มไว้อุณหภูมิห้องประมาณ 3-4 วัน
4. การทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อ R. solani เพาะกล้าผักกวางตุ้งในกระถาง นำน้ำหมักผสมน้ำปริมาตร 50 มิลลิลิตร ฉีดพ่นบนใบกวางตุ้ง คลุมถุงพลาสติกใสทิ้งไว้ 1 วัน
ผลการทดลอง 1. ทดสอบคุณสมบัติการเป็นอาหารจำเพาะต่อเชื้อ R. Solani รูปที่3 ลักษณะโคโลนีบนอาหารจำเพาะ หลังจากเลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 7 วัน ก. โคโลนีสีขาว ฟู ข.เส้นใยมีลักษณะตั้งฉาก ก ข
2. การผลิตปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ได้น้ำหมักสีน้ำตาลเข้มและข้น ค่า pH อยู่ระหว่าง 5-7 อุณหภูมิประมาณ 27-29 °ซ.
3. ตรวจหาเชื้อ R. solani ในปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในแต่ละสัปดาห์ 80 70 60 50 40 30 20 10 0 1 2 3 4 5 6 7 102 โคโลนี/มิลลิลิตร สัปดาห์ รูปที่4 ปริมาณเชื้อที่ตรวจพบในแต่ละสัปดาห์
4. การทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อ R. solani ที่มีชีวิตอยู่รอดในปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ รูปที่5 ลักษณะอาการของผักกวางตุ้งหลังจากฉีดพ่นด้วยน้ำหมักชีวภาพ ที่หมักไว้ 1 สัปดาห์
สรุป : สามารถตรวจพบเชื้อR. solani ที่หมักจากใบกวางตุ้งที่เป็นโรคใบติด ในสัปดาห์ที่ 1-7 : ปริมาณR. solani เพิ่มขึ้นเรื่อยๆจากสัปดาห์ที่ 1–5 และลดลงอย่างรวดเร็วในสัปดาห์ที่ 6 และไม่พบเชื้อในสัปดาห์ที่ 7 : เมื่อนำไปฉีดพ่นบนใบกวางตุ้งยังคงก่อให้เกิดโรคใบติดได้
โดย... นางสาวพนิดา แซ่เฉีย อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์เสมอใจ ชื่นจิตต์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2