150 likes | 458 Views
ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์. ยุทธศาสตร์. กลยุทธ์. แผนที่ยุทธศาสตร์. ผู้มีส่วนได้เสีย. วางแผน. วัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด ความริเริ่ม. การตั้งงบประมาณ การประเมินต้นทุน ( costing). Out- comes. แผนปฏิบัติการ บริการ. บริหารจัดการ. พัฒนาบุคลากร.
E N D
ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนที่ยุทธศาสตร์ ผู้มีส่วนได้เสีย วางแผน วัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด ความริเริ่ม การตั้งงบประมาณ การประเมินต้นทุน(costing) Out- comes แผนปฏิบัติการ บริการ บริหารจัดการ พัฒนาบุคลากร
ความสัมพันธ์ของ ABC/Mกับแผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ ยุทธศาสตร์ ตรวจสอบกระบวนการ (Balanced Scorecard) การบริหารยุทธศาสตร์ ABC ABM ข้อมูลทางบัญชีเพื่อ การบริหารจัดการ ข้อมูลการปฏิบัติงาน
ความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์กับการจัดการกิจกรรมและการคิดต้นทุนความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์กับการจัดการกิจกรรมและการคิดต้นทุน คุณค่า ประชาชน ประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ ปรับกระบวนการ บริหารงบประมาณ การจัดการกิจกรรม(ABM) ประสิทธิภาพของ ปฏิบัติการ ต้นทุนกลยุทธ์ ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต/บริการ การคิดต้นทุน(ABC)
รูปแบบ ความสัมพันธ์ของแผนที่ยุทธศาสตร์กับการจัดการกิจกรรม SLM มุมมองเชิงการตอบสนองยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงกระบวนการ Mini-SLM ตัวกำหนดต้นทุน (Cost Drivers) กิจกรรม ตัวชี้วัดผลงาน วัตถุประสงค์ส่วนบุคคล
ผู้บริหารคือผู้กำหนดความสำเร็จของยุทธศาสตร์ การพัฒนาความสามารถของบุคคลเป็นตัวกำหนดคุณค่าของงานที่ทำได้จริง คุณค่าของงานที่ทำได้ ลักษณะข้อมูล ลักษณะบุคคล ลักษณะองค์กร คุณค่าของบุคคลเดิม คุณค่าของบุคคลเต็มศักยภาพ พัฒนาความสามารถสร้างสรรค์ CD= cognitive development ED = social-emotional development พัฒนาการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ทีมผู้บริหาร อปท/ กองทุนฯ เน้นพัฒนาความสามารถสร้างสรรค์และการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ของทีมผู้บริหาร
ความสามารถสร้างสรรค์กับนวัตกรรมCreativity & Innovation • ความสามารถสร้างสรรค์ คือความสามารถสร้างสิ่งใหม่ขึ้นเป็นครั้งแรก • นวัตกรรม คือความสามารถสร้างหรือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ใช้ได้ดีขึ้นหรือมีการยอมรับมากขึ้น • ทั้งสองอย่างต้องไปด้วยกัน ความสามารถสร้างสรรค์ นวัตกรรม • องค์กรต้องการความสามารถสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมในงานทุกด้าน เช่น กระบวนการต่างๆ สัมพันธภาพ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา • ความสามารถสร้างสรรค์มิได้มีจำกัดอยู่เฉพาะในคนฉลาด คนมีการศึกษา มีประสบการณ์ ผู้สูงอายุ หรือหัวหน้างานเท่านั้น • คนธรรมดาทั่วไปหรือชาวบ้านก็มีความสามารถสร้างสรรค์ได้
ความสามารถสร้างสรรค์(Creativity) • ความสามารถสร้างสรรค์เกิดจาก เจตคติ + ความถนัด (ความตั้งใจ + ความสามารถ) • ความสามารถสร้างสรรค์ เป็นลักษณะการมองสถานการณ์หรือปัญหาด้วยความคิดหรือวิธีการใหม่ๆตลอดเวลา • ความสามารถสร้างสรรค์ประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ 1. ความเหนียวแน่น (Tenacity) กัดไม่ปล่อย 2. ความมั่นใจ (Confidence) กล้าเสี่ยงอย่างรอบคอบ 3. ความกระตือรือร้น (Enthusiasm) มีความสุขกับงานที่ทำ
ความถนัด(Aptitude) • ความถนัด ช่วยให้ความคิดสร้างสรรค์ /นวัตกรรมมีความเหมาะสม เป็นไปได้ • ความถนัด เกิดจากความสามารถเรียนรู้สถานการณ์รอบตัว ดังนั้น • ให้อยากรู้อยากเห็นสิ่งที่จะเป็นประโยชน์กับงาน ตาดู หูฟัง วิเคราะห์ สังเคราะห์ มองปัญหาจากมุมมองใหม่ๆ • เพ่งเล็งเฉพาะจุดที่ต้องการ(ที่มีหรือไม่มีปัญหา) หาข้อมูลให้มากที่สุด ตั้งเป้าประสงค์ให้ชัด จะช่วยให้เกิดความคิดริเริ่ม/นวัตกรรม • อย่ามองแต่ทางลึกอย่างเดียว ให้มองทางกว้างด้วย
เมื่อตาดู หูฟัง เก็บข้อมูลและตั้งใจหาทางเลือกใหม่แล้ว • ปล่อยวาง สังสรรค์ • ทำสมาธิ • ทำสิ่งอื่นที่ให้ความสุข • อาจจะได้ความคิดสร้างสรรค์
บ่มเพาะความสามารถสร้างสรรค์ / นวัตกรรมในผู้ร่วมงาน • หัวหน้าอย่าวางเฉยหรือตัดรอนความคิดสร้างสรรค์/นวัตกรรม ให้เจ้าของความคิดร่วมสานต่อ ให้รางวัลความสำเร็จ • สนับสนุนให้ทดลอง หากไม่สำเร็จให้ถือว่าเป็นบทเรียน • ตั้งจุดหมายปลายทางและวางแผนที่ยุทธศาสตร์ที่ละเอียดถึงบทบาทของบุคคล เพื่อแต่ละบุคคลจะได้หาทางสร้างนวัตกรรมในงานที่รับผิดชอบ • วิธีช่วยสร้างความคิดสร้างสรรค์/นวัตกรรม 1. ส่งเสริมความหลากหลายในความคิด แลกเปลี่ยนข้อมูล สร้างความร่วมมือ 2. มอบหมายทีมผสมที่มีประสบการณ์ และวิธีแก้ปัญหาต่างๆกันดำเนินการ (Departmental - community sourcing) 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเอง 4. ถามคำถามที่ท้าทาย SCAMPER (S=Substitute, C=Combine, A=Adapt, M=Modify, P=Put to other purposes, E=Eliminate, R=Rearrange) • ให้เวลาสงบจิตใจ อยู่คนเดียวเพื่อใช้ความคิด
บรรยากาศที่เหมาะสมสำหรับสร้างความคิดริเริ่ม/นวัตกรรมบรรยากาศที่เหมาะสมสำหรับสร้างความคิดริเริ่ม/นวัตกรรม • เกิดสิ่งที่ไม่คาดคิด (Surprise) • เกิดความไม่เข้ากัน (Incongruity) • เกิดคอขวดในงาน (Bottleneck) • เกิดการเปลี่ยนแปลงใน องค์กร ทัศนะ ประชากร องค์ความรู้
การจัดการนวัตกรรม (Innovation Management) • การกำหนดเงื่อนไขของการสร้างนวัตกรรม คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ตั้งกรรมการขึ้นชุดหนึ่งชื่อคณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พร้อมโครงการสนับสนุนโครงการฯจะใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือในการสร้างนวัตกรรมกระบวนการในระดับนั้น 2. การจัดการความคิดและความสามารถสร้างสรรค์ โครงการฯจะเน้นการสร้างความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมในระดับชุมชน ท้องถิ่น และปฐมภูมิ
การจัดการนวัตกรรม (ต่อ) • การจัดการบัญชีนวัตกรรม โครงการฯจะให้ความสำคัญกับการสร้างนวัตกรรมกระบวนการของระบบประกันสุขภาพเพื่อให้ชุมชน และท้องถิ่น สามารถวางแผนดำเนินงานหลักประกันสุขภาพได้ • การจัดการโครงการ (Project Management) โครงการฯจะใช้ “ทีมจัดการนวัตกรรม” ( Innovation Management Team) ที่สมาชิกมีความหลากหลายทั้งคุณลักษณะ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ในการกำหนดลำดับความสำคัญ คัดเลือก และจัดการนวัตกรรม
การจัดการนวัตกรรม (ต่อ) 5. การจัดการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) โครงการฯจะถ่ายทอดแนวคิดเรื่องความสามารถสร้างสรรค์และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้บุคคลทุกฝ่าย ทุกระดับมีโอกาสสร้างนวัตกรรมในงานที่ปฏิบัติ